Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การส่งเสริมภาวะภชนาการ - Coggle Diagram
บทที่ 8
การส่งเสริมภาวะภชนาการ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
ภาวะอ้วน
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
จากการวัดขนาดรอบเอวในผู้ชายรอบเอวมากกว่า 40 นิ้ว ผู้หญิง 35 นิ้ว
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
3) จำกัดการใช้น้ามัน ไขมัน น้าตาล
8) ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
2) จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
1) คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ภาวะผอมแห้ง
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบายสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหาร
การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
1) หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ
อาการคลื่นไส้และอาเจียน
1) พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
2) สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่ออาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
4) การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
5) ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้า
ภาวะท้องอืด
ภาวะท้องอืด เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่มทำให้เกิดอาการที่ตามมา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
2) งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60องศา เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
4) ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน อาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
การพยาบาลผู้ป่วย
4) ระมัดระวังการสำลัก
5) ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
3) ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
6) การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
7) การดูแลด้านจิตใจ
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบาก
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดย
ผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร
สำหรับผู้ป่วยพิการ
(1) ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหารใส่ปากหรือดัดแปลงที่จับของให้จับได้สะดวก
(2) ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลวที่สอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย์
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
(1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย เพื่อป้องกันการสำลัก
(2) สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก เพื่อดูว่ามีอาหารที่เหลือค้างในปาก
(3) สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน เพื่อช่วยให้การกลืนได้ดีขึ้น
(4) ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
(5) ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
(6) ในขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะ ๆ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายให้อาหารทางจมูกถึงกระเพาะอาหารนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า NG tube feeding
วิธีการให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก แต่การทางานของระบบทางเดินอาหารยังอยู่ในภาวะปกติ โดยให้อาหารผ่านทางสายให้อาหารซึ่งสอดผ่านทางจมูกเข้าสู่กระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี ได้แก่
1) Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะสาหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2) Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหารมีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้าสามารถปรับจานวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการให้อาหารได้ตามความต้องการ เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การล้างภายในกระเพาะอาหาร
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ ได้รับยาเกินขนาด รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด สาหรับการตรวจโดยการส่องกล้อง เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถนำเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะใช้เครื่องดูดเสมหะได้