Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความขัดแย้ง - Coggle Diagram
ความขัดแย้ง
ทฤษฎีความขัดแย้ง
4.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Ludwing Feuerbach
มองว่ามนุษย์ทุกคนมีความเห็นแก่ตัวและมีความพยายามที่จะครอบครองวัตถุต่างๆไว้ให้มากที่สุด
5.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Karl Mark
เชื่อว่าความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กันความขัดแย้งเป็นกฎพื้นฐานของชีวิตและความขัดแย้งเป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาสังคม
6.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Max Weber
ยอมรับว่าความขัดแย้งในผลประโยชน์ระหว่างบุคคลพบได้ในทุกหนทุกแห่งในสังคมความขัดแย้งเกิดจากการกระทําของบุคคลที่ต้องการที่จะบรรลุความปรารถนาของตนเกิดปะทะกับการต่อต้านของอีกฝ่ายหนึ่ง
7.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Georg Simme
ชี้ให้เห็นว่า ความขัดแย้งเป็นปฏิสัมพันธ์รูปแบบหนึ่งี่เกิดในกลุ่มที่สมาชิกความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน
3.ทฤษฎีข้อขัดแย้งตามแนวคิดของ
Fredrich Hegel
มองว่าข้อขัดแย้งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ปกครองรัฐบางรัฐพยายามจะครอบครองรัฐอื่นๆ
8.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Gaetano Mosca
เชื่อว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ
2.ทฤษฎีความขัดแย้งของ
Immanuel Kant
ได้เสนอทฤษฎีความขัดแย้งที่มีสาระสําคัญ คือ ความขัดแย้ง ที่เริ่มจาก ข้อเสนอเบื้องต้น แล้วมีข้อขัดแย้ง
9.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Lewis A.Coser
ชี้ให้เห็นว่าความขัดแย้งอาจนําไปสู่ความกลมเกลียวหรือความแตกแยกได้
1.ทฤษฎีความขัดแย้งตามแนวคิดของ
Socrates
ใช้การถามตอบหรือวาทศิลป์เพื่อแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลมากกว่าเดิม
ความหมายของความขัดแย้ง
การทําสงครามความไม่ลงรอยกัน หรือเข้ากันไม่ได้
คัดค้านซึ่งกันและกัน
ประเภทของความขัดแย้ง
1.ความขัดแย่งภายในบุคคล
2.ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
3.ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
4.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
5.ความขัดแย้งภายในองค์กร
สาเหตุของความขัดแย้ง
1.การมีเป้าหมายที่แตกต่างกัน
2.การแข่งขันด้านทรัพยากร
3.การสื่อสารที่บกพร่องและการกําหนดรูปที่ผิดเพี้ยน
4.ความไม่ลงรอยกันในมาตราฐานการปฏิบัติงาน
5.โครงสร้างองค์กรที่ไม่สอดคล้องกัน
การจัดการความขัดแย้ง
1.การหลีกเลี่ยง
2.การปรองดอง
3.การประนีประนอม
4.การแข่งขัน
5.การร่วมมือ
ข้อดีของความขัดแย้ง
1.ทําให้องค์กรไม่หยุดนิ่งเฉื่อยชา
2.ทําให้องค์กรตระหนักหรือรับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้น
3.ช่วยเพิ่มวุฒิภาวะให้กับบุคคล
4.ก่อให้เกิดการเรียนรู้เข้าใจซึ่งกันและกัน
5.ทําให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่มหรือองค์กร
6.ทําให้เกิดการตรวจสอบการทํางานและความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร
ข้อเสียของความขัดแย้ง
1.เกิดความท้อแท้เครียด หมดกําลังใจในการทํางาน
2.สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง
3.แตกความสามัคคี
4.ก่อให้เกิดการสูญเสียบุคลากร
5.ทําให้เกิดความเสี่ยงในการบริหาร