Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร - Coggle Diagram
ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร
แนวคิดเบื้องต้นและการบริหารจัดการความรับผิดชอบต่อสังคม
การพัฒนาประเทศทั่วโลกทําให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากผลจากการพัฒนาทําให้เกิดการขยายตัวของการลทุนในประเทศ
ประเภทของCSR
1.จําแนกโดยกระบวนการทางธุรกิจ
2.การจําแนกโดยพิจารณาตามเจตนารมณ์แห่งการกระทํา
3.การจําแนกตามทรัพยากรที่ใช้ในการดําเนินงาน
4.การจําแนกตามกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบ
5.การจําแนกโดยคํานึงถึงประเด็นปัญหาทางสังคม
6.การจําแนกตามรูปแบบของกิจกรรมที่ทํา
7.การจําแนกโดยใช้เกณฑ์ผลประโยชน์เป็นที่ตั้ง
8.การจําแนกโดยใช้เกณฑ์ประเภทของความรับผิดชอบ
การดําเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ช่วงที่1 กําหนดแนวคิดCSRเป็นการสร้างความสอดคล้อง
ช่วงที่2 กําหนดแนวคิดCSRเป็นการสร้างประสิทธิภาพเชิงเศรษฐนิเวศ
การบริหารจัดการความรับผิดชอบต่อสังคม
1.การหักส่วนแบ่งจากกการขาย
2.การส่งเสริมประเด็นของสังคม
3.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในสังคมด้วยเครื่องมือทางการตลาด
4.ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการธุรกิจ
5.อาสาสมัครเพื่อสังคม
6.การบริจาคเพื่อสาธารณกุศล
การรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวนการ
1.ด้านการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
2.ด้านการส่งเสริมศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม และสถาบันครอบครัว
3.ด้านการช่วยเหลือสังคม
4.ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต
5.ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม
ประเด็นท้าทายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
1.ความเห็นชอบของท้องถิ่นต่อการดําเนินกิจการขององค์กร
2.การบูรณาการCSRเข้าไปในการบริหารจัดการองค์การ
3.การสร้างวิธีปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมหรือพึ่งพาอาศัย
4.ประเด็นสิทธิมนุษยชน
5.ประเด็นแรงงานสัมพันธ์
6.ความต้องการของท้องถิ่น
7.การสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน
8.ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
9.การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
10.การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้เสีย
บทบาทของภาครัฐในเรื่องCRSโดยธนาคารโลก
1.เป็นกรอบในการจัดทําCRSให้กับภาคเอกชน
2.ส่งเสริมให้CSRเป็นเครื่องมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม
3.สร้างสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดทําCSR