Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ - Coggle Diagram
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
กลยุทธ์การวิเคราะห์นโยบาย
กลยุทธ์ในการวิเคราะห์นโยบาย
ค่านิยม
การตรวจสอบ
การแก้ไขและพิจารณา
ความจริง
การจำกัดหรือขยายขอบเขต
การค้นหาความจริงและพิจารณา
การกระทำ
การยอมรับ
ความสำเร็จและการแก้ปัญหา
ค่านิยมและการกระทำ
ประโยชน์ของการวิเคราะห์
การวิเคราะห์นโยบายและการตัดสินใจ
แสวงหาแนวทางการแก้ปัญหาสังคม
การประเมินการตัดสินใจ
เกณฑ์ทางเลือกของผู้ตัดสินใจ
การวิเคราะห์นโยบาย การประมวลผลโครงสร้างใหม่
ความสำคัญของนโยบาย
กระบวนการกำหนดนโยบาย
กระบวนการทางนิติบัญญัติ
กระบวนการทางการบริหาร
กระบวนการยุติธรรม(ตุลาการ)
จุดประสงค์ของการกำหนดนโยบาย
เพื่อแสดงจุดยืนของประชาชน
เน้นนโยบายในประสิทธิภาพของประชาชน
ความนำ
การวิเคราะห์นโยบาย 5 ประการ
1.นักวิเคราะห์นโยบาย (policy analysis) จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการรวบรวม การจัดการและการสื่อข้อมูลภายใต้สถานการณ์ที่มีข้อกำหนดเรื่องเวลา.
2.นักวิเคราะห์นโยบายต้องการทัศนภาพในการรับรู้เกี่ยวกับบริบทของปัญหาทางสังคม อาทิเช่น เมื่อใดรัฐบาลจึงจะมีความชอบธรรมในการเข้าแทรกแซงกิจกรรมของเอกชน
3.นักกวิเคราะห์นโยบายต้องการทักษะทางเทคนิค (technical skills) เพื่อช่วยทำให้การทำ ำนายและการประเมินผลทางเลือกนโยบายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
4.นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองและพฤติกรรมองค์การ เพื่อประโยชน์ในการทำนายหรือในบางกรณีเพื่อที่จะมีอิทธิพลต่อการให้ความเห็นชอบนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติให้ประสบผลสำเร็จ
5.นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องมีกรอบของจริยธรรม (ethical framework) ในการท างานของตนอย่างชัดเจนในการปฏิสัมพันธ์กับผู้เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์นโยบาย
ความสำคัญของการวิเคราะห์นโยบาย
นักวิจัยการวิเคราะห์นโยบาย 9 แบบ
Susan B. Hanse
การวิเคราะห์นโยบาย
กระบวนการทางการเมืองทางตรงและทางอ้อม
การเปรียบเทียบโครงสร้างและความสัมพันธฺ์
การประเมินผลผลิตนโยบาย
การมุ่งเน้นผลผลิตและผลกระทบ
Walter William
การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาความสัมพันธ์ต่างๆ
การวิเคราะห์การรวบรวมข้อมูล
การทำนายประมาณและคุณภาพ
การเลือกนโบายและการเปรียบเทียบ
Norman Beckma
วัตุประสงค์พื้นฐาน
การวิเคราะห์นโยบายที่มีประสิทธิผล
ต้นทุนและผลประโยชน์
ค่านิยมและการประเมินของผู้รับ
การวิเคราะห์นโยบายเป็นการเน้นดรื่องการตัดสินใจ
การวิเคราะห์นโยบายคือการคาดหมาย
การวิเคราะห์นโยบายเป็นการบูรณาการสหวิทยา
William N. Dun
การวิเคราะห์นโยบายสังคมศาสตร์ประยุกต์ที่น่าสนใจ
ประสิทธิผลในการแก้ปัญหา
การวิเคราะห์ระบบข้อมูล
ความสำเร็จของนโยบาย
ผลรับนโยบาย
การนำนโบายไปปฎิบัติ
อนาคตนโยบาย
ปัญหานโยบาย
วิธีการวิเคราะห์นโยบาย
การประเมินผล
การกำกับนโยบาย
เสนอแนะ
การทำนาย
การกำหนดโครงสร้างปัญหา
การแก้ไขนโยบายให้ครอบคลุม
การวิเคราะห์นโยบายที่เป็นรูปธรรม
James S. Coleman
การวิเคราะห์ระเบียบสังคมศาสตร์ประยุกต์
การกำหนดและเปลี่ยนแปลงนโยบายให้สอดคล้องกับข้อมุล
การแสวงหาข้อเท็จจริงและข้อโต้แย้ง
Duncan MacRae J
การวิเคราะห์นโยบายสังคมศาสตร์ประยุกต์
การแสวงหาทางเลือกและผลักดันนโยบาย
เหตุผลและหลักฐานการจำแนกประเมินผล
วิเคราะห์แนวทางแก้ปัญหาสาธารณะ
Edward S. Quad
การวิเคราะห์นโยบายข้อมูล
การประเมินผลได้ ผลเสียในการตัดสินใจ
การวิเคราะห์นโยบายตามทัศนคติ
การแก้ปัญหาและประเมินโครงสร้าง
การออกแบบและการสังเคราะห์
การปรับปรุงศักยภาพในการตัดสินใจ
James E. Anderso
การวิเคราะห์นโยบายการตรวจสอบ
การผลักดันนโยบาย
นโยบายเฉพาะเรื่องสิทธิมนุยชน,การค้าระหว่างประเทศ
การวิเคราะห์เนื้อหาและผลกระทบ
การพรรณนาสาเหตุ
Thomas R. Dy
การวิเคราะห์ปัญหาสังคม
การวิเคราะห์ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาของนักการเมือง
การแสวงหาสาเหตุของนโยบาย
การพัฒนาข้อเสนอและการตัดสินใจ
สังคมวิทยาศาตร์และความสอดคล้อง
องค์ประกอบของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
Edward S. Quad
ทางเลือก
ประเมินผลทางเลือก
ประสิทธิผลและการบรรลุวัตถุประสงค์
เกณฑ์การวัดเชิงปริมาณ,ต้นทุนและระบบราคา
ต้นทุน
ต้นทุนการลงทุน
ต้นทุนในการปฏิบัติ
การจำแนกต้นทุน
ผลลัพธ์ที่ไม่คาดหมาย
ความผิดพลาด
วิเคราะห์นโยบายขาดประสบการณ์
ผลลัพธ์เป็นลบ
การจัดลำดับทางเลือก
การเปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ
การจัดลำดับความสำคัญของทางเลือก
การตรวจสอบทางเลือก
สาระสำคัญของทางเลือก
กำลังคนและอุปกรณ์
สิ่งอำนวยความสะดวก
ทางเลือกการทำงาน
ผลกระทบ
ผลกระทบในทางบวกและทางลบ
เทคนิคในการวิเคราะห์ที่สมบูรณ์
การเพิ่มวัตุประสงค์ทางบวก
วัตถุประสงค์
การตัดสินใจและการบรรลุผล
การวิเคราะห์และการกำหนดวัตถุประสงค์
วัตุประสงค์ที่แท้จริง
เกณฑ์การวัดตัวแบบ
เกณฑ์การวัดความสัมพันธ์
การตัดสินใจตามค่านิยมต่างๆ
กฏหรือมาตรฐาน
ตัวแบบ
ประเมินผลกระทบ
การคำนวนสิ่งที่จะเกิด
กระบวนการและการสร้างสรรค์
การวิเคราะห์นโยบายเชิงประจักษ์
ตัวแบบสาธิตการวิเคราะห์เส้นทาง
1.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดอัตรากำลังพลตรวจในเขตุชุมชนสหรัฐ
2.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการในประเทศต่างๆ
รัฐเผด็จการ
รัฐเสรีประชาธิปไตย
อายุของประชากร
ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ
อรรถประโยชน์ของการวิเคราะห์เส้นทาง
ทัศนะของ Dye (1978: 79-94) เห็นว่า ระเบียบวิธีวิจัยที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุดประการหนึ่ง ในการขยายความชัดเจนของกรอบความคิดเชิงสาเหตุและผลที่เกี่ยวกับสาเหตุ (causes) และผลลัพธ์ (consequences) ของนโยบายสาธารณะ คือ การวิเคราะห์เส้นทาง (Path analysis) การวิเคราะห์เส้นทางจะช่วยให้นักวิเคราะห์สามารถแสดงความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลลัพธ์ของนโยบายสาธารณะในรูปของแผนภาพความสัมพันธ์ (diagrammatic fashion) ระหว่างปัจจัยสาเหตุและผลได้อย่างชัดเจน
ระเบียบวิธีการระบบข้อมูลการวิเคราะห์
ตามแนวคิดของ William N. Dun
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การกำหนดโครงสร้างของปัญหา (problem structuring) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้สำหรับรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อให้การจำแนกและระบุปัญหาชัดเจน
ประการที่สองการทำนาย (forecasting) เป็นระเบียบวิธีการวิเคราะห์ที่ใช้ในการทำนายสภาพแวดล้อมและผลลัพธ์ของชุดการปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สำหรับทางเลือกแต่ละทางเลือกที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหานโยบายโดยพิจารณาว่าทางเลือกจะก่อให้เกิดผลดีผลเสียอย่างไร ระเบียบวิธีวิเคราะห์เพื่อการทำนายนี้ใช้ความรู้จากวิชาการสาขาต่าง ๆ
ประการที่สี่การกำกับนโยบาย (monitoring) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้ในการตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลของนโยบายที่ผ่านมาก เพื่อนำมาปรับปรุงในการกำกับ การนำนโยบายไปปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และผลลัพธ์นโยบาย
ประการที่สามการเสนอแนะ (recommendation) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อจัดลำดับทางเลือกต่าง ๆ ทั้งนี้โดยวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางการเมือง สภาพแวดล้อม และค่านิยมของผู้ตัดสินใจ หากการเสนอแนะทางเลือกไม่สอดคล้องกับสถานการณ์หรือค่านิยมของผู้ตัดสินใจ
ประการสุดท้ายการประเมินผล (evaluation) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้สำหรับตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยมของแนวทางปฏิบัติของนโยบายในอดีตหรือในอนาคต ซึ่งการ
ประเมินนี้สามารถกระทำได้ทั้งก่อนที่จะนำไปปฏิบัติและหลังจากการนำไปปฏิบัติแล้ว เพื่อเป็นการตรวจสอบทางเลือกที่นำไปปฏิบัติว่ามีประสิทธิผลเพียงใด โดยเปรียบเทียบกับผลได้ผลเสียที่ประมาณการไว้ในทางเลือกกับผลลัพธ์นโยบายที่เกิดขึ้นหลังจากการนำนโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผลจึงสัมพันธ์โดยตรงระหว่างผลลัพธ์นโยบายกับทางเลือกนโยบาย
ระบบข้อมูลนโยบาย
ประการที่สอง อนาคตนโยบาย (policy future) หมายถึงแนวทางของการกระทำที่เป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ ซึ่งเป็นไปตามคุณค่าของสังคม (Dunn, 1994: 69) ระบบข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขของปัญหาเป็นสิ่งจำเป็นมากในการจำแนกแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เป็นไปได้ แต่ระบบข้อมูลดังกล่าวมักจะไม่พอเพียง นอกจากนี้นักวิเคราะห์พึงตระหนักด้วยว่าอดีตจะไม่ย้อนรอยโดยตัวของมันเอง และค่านิยมโดยตัวของมันเองจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาที่เปลี่ยนไป
ประการที่สามการน านโยบายไปปฏิบัติ (policy action or policy implementation) หมายถึง การกระทำหรือชุดของกระทำที่กำหนดโดยทิศทางของทางเลือกนโยบายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในอนาคตตามคุณค่าที่กำหนดไว้ (Dunn, 1994: 69; Reynold, 1975) ซึ่งเป็นการแปลงความตั้งใจไปสู่การกระทำ(Alexander, 1985) ทางเลือกนโยบายที่ผู้ตัดสินใจเลือกที่จะนำไปปฏิบัตินั้น อาจจะอยู่ในรูปของกฎหมาย คำสั่ง
ประการแรกปัญหานโยบาย (policy problem) หมายถึงสิ่งที่เป็นความต้องการ คุณค่าหรือโอกาสในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ซึ่งจะให้สำเร็จโดยผ่านการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งครอบคลุมความพยายามในการจำแนกคำถามและประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการกำหนดกรอบของปัญหาที่จะต้องแก้ไข การระบุวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาให้ชัดเจน
ประการที่สี่ผลลัพธ์นโยบาย (policy outcomes) หมายถึงผลที่สังเกตเห็นได้ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ เมื่อนโยบายถูกนำไปปฏิบัติผลที่บังเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ก็ตาม เรียกผลที่เกิดขึ้นนั้นว่าผลลัพธ์นโยบาย ซึ่งผลลัพธ์นโยบายนี้ อาจเป็นผลที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือผลที่ไม่คาดหมายก็ได้ ผลที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์นั้นมีหลายระดับ ตั้งแต่น้อยไปหามาก ส่วนผลที่ไม่คาดหมายนั้นอาจจะมีทั้งในทางบวกและในทางลบ
ประการที่ห้าระดับความส าเร็จของนโยบาย (policy performance) หมายถึง ระดับความสำเร็จของผลลัพธ์นโยบายเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่คาดหวังไว้ (Dunn, 1994:70) ในความเป็นจริงนั้น ปัญหานโยบายยากที่จะแก้ไขโดยสมบูรณ์ ปัญหาเหล่านี้มักจะถูกนำมาแก้ไขใหม่โดยการก่อรูปปัญหาขึ้นใหม่ หรือบางครั้งอาจไม่ได้รับความสนใจที่จะทำการแก้ไขอีก (Ackoff, 1981: 7) การที่จะรู้ว่าปัญหานโยบายได้รับการแก้ไขหรือไม่ หรือได้รับการแก้ไขใหม่หรือไม่ได้รับการแก้ไขเลย มิใช่พิจารณาจากข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์นโยบายเท่านั้น
กระบรวนการวิเคราะห์นโยบาย
1.แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
2.แนวทางเชิงประเมิน (valuative approach) เป็นแนวทางที่มุ่งจะอธิบายถึงคุณค่า (worth) หรือค่านิยม (value) ของสังคมที่มีต่อปัญหานโยบาย โดยการตั้งคำถามว่า “ปัญหานโยบายดังกล่าวมีคุณค่าอะไร” ต่อสังคม และลักษณะของข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์เชิงประเมินจะประกอบด้วยคุณลักษณะของค่านิยมของสังคมเป็นสำคัญ
3.แนวทางเชิงปทัสถาน (normative approach) เป็นแนวทางที่มุ่งเสนอทางเลือกเพื่อการแก้ไขปัญหาในอนาคต (future courses of action) โดยการตั้งคำถามว่า “ควรจะทำอะไรให้เรียบร้อย” ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการใช้จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอแนะ (prescriptive) เช่น นโยบายการประกันรายได้ขั้นต่่ของประชาชนอาจเป็นข้อเสนอเพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจนในสังคม
1.แนวทางเชิงประจักษ์ (empirical approach) เป็นแนวทางที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริง (facts)โดยการตั้งคำถามว่า “มีอะไรปรากฏอยู่บ้าง” เพื่อการอธิบายว่าอะไรคือปัญหานโยบายที่สังคมเผชิญอยู่ โดยพิจารณาจากสาเหตุ (causes) และผล (consequences) ของนโยบายที่ดำเนินการมาแล้ว
2.กระบวนการวิเคราะ์นโยบายสาธารณะ
1.วัฎจักรของกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย
ประการที่ห้าการสร้างและทดสอบตัวแบบ
ประการที่หกการตรวจสอบทางเลือกที่เหมาะสม
ประการที่เจ็ดการประเมินต้นทุนและประสิทธิผล
ประการที่แปดการแปลผลที่เกิดขึ้น
ประการที่สี่การรวบรวมข้อมูลและข่าวสาร
ประการที่เก้าการทบทวนฐานคติ
ประการที่สามการค้นหาและกำหนดทางเลือก
ประการที่สองการกำหนดวัตถุประสงค์
ประการที่สุดท้ายการกำหนดทางเลือกใหม่
ประการแรกการระบุปัญหานโยบาย
2.ขั้นตอนการวิเคราะห์นโยบาย
ประการที่ห้าการกำหนดวัตถุประสงค์และการจัดลำดับความสำคัญ
ประการที่หกการวิเคราะห์ทางเลือก
ประการที่สี่การพยากรณ์
ประการที่เจ็ดการนำนโยบายไปปฏิบัติการกำกับและการควบคุม
ประการที่สามการนิยามประเด็นนโยบาย
ประการที่แปดการประเมินผลและการทบทวน
ประการที่สองการกลั่นกรองประเด็นนโยบาย
ประการสุดท้ายการดำรงรักษานโยบาย การดำเนินนโยบายต่อไป และการยกเลิกนโยบาย
ประการแรกการตัดสินใจที่จะกำหนดปัญหานโยบาย