Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๖ การรับสารและการส่งสาร - Coggle Diagram
บทที่ ๖
การรับสารและการส่งสาร
ความรู้เกี่ยวกับการรับสาร
การรับสาร
หมายถึง การที่ผู้รับสารแปลความหมายของสารที่ส่งสารมาด้วยการพูด การเขียน หรือสัญลักษณ์ โดยที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารรับรู้ร่วมกันได้
กระบวนการรับสาร
การรับรู้
ได้ยินเสียง หรือการมองเห็นภาพ
ตลอดจนตัวอักษร
การจำได้
เกิดการรับรู้สาร จดจำได้แล้วนามาระลึกถึงหรือ
ใช้เชื่อมโยงเปรียบเทียบกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
การเข้าใจ
เกิดจากผู้รับสารรู้จักคิดและตีความสาร
ที่ได้รับว่ามีมีจุดมุ่งหมายใด
การเลือกสรร
ผู้รับสารต้องรู้จักวิเคราะห์ส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง
ส่วนใดเป็นความคิดเห็น
การปฏิเสธ
จดจำประเด็นสำคัญ น่าเชื่อถือ และปฏิเสธส่วนที่
เห็นว่าผิดพลาดคลาดเคลื่อน
การประเมินค่า
ผู้รับสารต้องประเมินคุณค่าของสารนั้นว่ามีคุณค่าเพียงใด
การรวบรวม
ต้องรวบรวมความคิดและข้อมูล
ที่ได้จากการรับสารมาจัดระเบียบอย่างเป็นระบบ
การเก็บรักษา จดจำสารนั้นไว้
การระลึกได้
นำข้อมูลความรู้ความคิดที่เกี่ยวข้องและ
จดจำไว้นั้นมาใช้ได้เมื่อต้องการ
การอนุมาน
สามารถ “หยิบยก” ประเด็นหรือข้อความที่
จดจำไว้ได้นั้น “อ้างอิง” ได้อย่างถูกต้อง
การสรุปสาระ
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการรับสาร
คือผู้รับสารต้องสรุปความคิดรวบยอด
ประเภทของการรับสาร
การฟัง
การอ่าน
หลักในการรับสาร
เตรียมตัวพร้อมรับสาร
รู้จักเลือกสรร
มุ่งมั่น ตั้งใจ เลือกจดจำไว้
ไม่มีอคติต่อสารและผู้ส่งสาร
ใช้วิจารณญาณในการรับสาร
จดจำและบันทึกสารเพื่อให้ประโยชน์
การบันทึกจากการฟังคำบรรยาย
ควรจดเป็นหัวข้อ
ใช้อักษรย่อ คำย่อ
ควรใส่หมายเลขกำกับหัวข้อ
ทำแผนภูมิ
การบันทึกในการอ่านหนังสือส่วนตัว
ขีดเส้นใต้ใจความสำคัญ
ใส่หมายเลขกำกับ
ความรู้เกี่ยวกับการส่งสาร
การส่งสาร
คือ พฤติกรรมเพื่อสื่อความหมายของมนุษย์ เป็นการแสดงออกเพื่อการติดต่อสื่อสารโดยใช้ภาษาเป็นสื่อในการถ่ายทอดความรู้
ประเภทของการส่งสาร
การพูด
การพูดแบบเป็นทางการ - การอภิปราย
การพูดแบบกะทันหัน - การกล่าวอวยพร
การพูดแบบมีบันทึกเฉพาะหัวข้อ - ยกตัวอย่างเอง + ส่วนขยาย
การพูดแบบท่องจำ - เตรียมตัวมา
การพูดแบบอ่านจากต้นฉบับ - การกล่าวแถลงการณ์
การเขียน
ถ่ายทอดผ่านตัวอักษร
หลักในการส่งสาร
หลักทั่วไปในการส่งสาร
การกำหนดจุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ความรู้
เพื่อความบันเทิง
เพื่อโน้มน้าวใจ
การกำหนดเรื่องที่น่าสนใจ
และมีประโยชน์
การวางโครงเรื่อง - กำหนดประเด็นหลัก
ประเด็นย่อย
การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
การเรียบเรียงเนื้อหา
ใช้ภาษาให้ถูกต้อง
ลำดับความสำคัญ
ของเนื้อหา
การทบทวนและแก้ไข
หลักในการส่งสารด้วยการพูด
โครงเรื่องของการพูด
การทักทายผู้ฟัง - เรียงลำดับตามความอาวุโส
คำนำ หรืออารัมภบท - ตื่นเต้น ชวนให้ติดตาม
เนื้อเรื่อง - มีการเรียงลำดับ ไม่วกวน
บทสรุปหรือคำลงท้าย - สอดคล้องกับเรื่องที่พูด
การพูดให้ประสบความสำเร็จ
บุคลิกภาพดี
อิริยาบถ - สุภาพ สัมพันธ์กับเรื่องที่พูด
การใช้สายตา
ไม่มองฝ้า เพดาน
สบตาผู้ฟังให้ทั่วห้อง
การใช้เสียงและน้ำเสียง - ออกเสียงชัดเจน ถูกต้อง
การใช้อุปกรณ์ประกอบการพูด
ไมโครโฟน - ไม่ควรชิดปากมากจนเกินไป
การควบคุมจิตใจและสร้างความเชื่อมั่น - ฝึกซ้อม, มั่นใจ
ข้อควรคำนึงในการส่งสาร
ใช้ถ้อยคำและระดับภาษาให้เหมาะกับเรื่อง
เลือกเรื่องที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารสนใจร่วมกัน
ไม่นำเรื่องส่วนตัวของตนเอง
และผู้อื่นมาเปิดเผย
หลีกเลี่ยงการกล่าวร้าย
นินทาผู้อื่น
ไม่โอ้อวด ยกตนข่มท่าน
หรือดูถูกผู้รับสาร
ส่งสารให้ตรงประเด็น
คำนึงถึงเวลาที่ใช้ในการส่งสาร
คำนึงถึงสถานการณ์ โอกาส
และสถานที่ในการส่งสารเสมอ
ไม่พูดเรื่องเศร้าในงานมงคล
การยกถ้อยคำหรือข้อความของผู้อื่นมาใช้
ควรบอกที่มาด้วย