Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
บทที่ 8 การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมาย
โภชนาการ (Nutrition)
เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน (Science and art of feeding)
มุ่งเน้นคุณภาพของอาหารหรือปริมาณของสารอาหารที่ร่างกายจะนำไปใช้ประโยชน์มากที่สุด
ภาวะโภชนาการ(Nutritional Status)
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจำเป้นต้องได้รับสารอาหารและนำไปใช้เพียงพอ
ผล สภาพ ภาวะของร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหาร
ภาวะโภชนาการดี(Good nutritional status)
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารถูกหลักโภชนาการ
ภาวะโภชนาการไม่ดี(Bad nutritional status)
ภาวะทุพโภชนาการ(Malnutrition)
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์(Malnutrition)
รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการโดยขาดสารอาหารเพียง1ชนิดหรือมากกว่าหรืออาจขาดพลังงานด้วยหรือไม่ก็ได้
ภาวะโภชนาการเกิน(Over nutrition)
ได้รับสารอาหารมากเกินความต้องการของร่างกายและเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากการดื่มแอลกออฮอล์
ภาวะสุขภาพ
การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
วิถีชีวิต
การใช้ยา
ยามีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เศรษฐานะ
เพศ
ชายต้องการพลังงานต่อวันมากกว่าหญิง
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
อายุ
เด็กต้องการสารอาหารมากกว่าวัยผู้ใหญ่/วัยสูงอายุ
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ผลกระทบต่อผู้ป่วยได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ
การหายของแผลช้า
ความแข็งแรงและโครงสร้างของผิวหนังผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันโรคลดลง
วันนอนโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
เพิ่มควาเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ ส่วนสูง น้ำหนัก และความรุนแรงของโรค
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้(Energy Expenditure:EE)
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน(Basal energy expenditure : BEE)
เพศชาย
BEE = 66.47+(13.75x น้ำหนัก(kg))+(5 x ความสูง (Cm))- (6.75 x อายุ)
เพศหญิง
BEE = 65.09 + (9.56x น้ำหนัก(Km)) + (1.85 x ความสูง(Cm))-(4.68xอายุ(ปี))
ความต้องการพลังงานทั้งหมด(Total Energy Expenditure:TEE)
TEE = BEE x Activity factor x stress factor
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment :B)
เป็นวิธีการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
ตัวอย่าง
การประเมินภาวะโลหิตจาง(Anemia)
ค่า Hb
ต่ำกว่า10mg%
ภาวะโลหิตจาง
ปกติ
ชาย 14-18mg%
หญิง 12-16mg%
ค่า Hb
ปกติ
ชาย 40 %
หญิง 37-47 %
ต่ำกว่า30%
ภาวะโลหิตจาง
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment :C)
วิธีการตรวจร่างกาย เช่น ผิวหนัง ผม ฟัน เหงือก ริมฝีปาก ลิ้น เปลือกตา
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement :A)
ดัชนีมวลของร่างกาย
(Body Mass Index : BMI)
BMI = น้ำหนักตัว(กิโลกรัม) / ส่วนสูง (เมตร)2
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร (Dietary assessment:D)
ประกอบด้วย
ประวัติการรับประทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวโภชนาการ
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้ เป็นความรูสึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก
อาการอาเจียน
การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร/ลำไส้เล็กกว่าส่วนต้นออกมาทางปาก
การพยาบาล
สังเกตสิ่งต่างๆเพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
พยาบาลต้องรีบให้ความช่วยเหลือให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ป้องกันและแก้ไข้อาการอาเจียน
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
ดูแลความสะอาด จัดสิ่งแวดล้อม หลังผู้ป่วยอาเจียน
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบาก)
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia)จึงไม่สามารถกลืนได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง/เหลว
ภาวะกลืนลำบาก(Dysphagia) เกิดความลำบากในการกลืน กลืนแล้วติดอยู่ในอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
การพยาบาล
ดูแลผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้/ลำบาก
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกายโดยเฉพาะปากและฟัน
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ
Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหาร เป็นความรุ้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
ทำให้ทานอาหารได้น้อย อ่อนเพลีย น้ำหนักน้อย
Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรักประทานอาหารโดยรับประทานวันละหลายๆครั้งครั้งละมากๆ
หลังจากทานจะรู้สึกผิดที่ทานเข้าไปมาก จึงหาวิธีเอาออกโดยอาจล้วงคอให้อาเจียน
การพยาบาล
การใช้ยา
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
หาสาเหตุที่พบได้บ่อยๆ
Abdominal distention(ภาวะท้องอืด)
เป็นความรุ้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องเกิดจากแรงดันใท้องเพิ่ม
การพยาบาล
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ ในการให้ความช่วยเหลือ
จัดให้นอนศีรษะสูงเพื่อช่วยลดอาการแน่นท้องผายลมได้
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Obesity(ภาวะอ้วน)
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
การส่งเสริมภาวะโชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร(Feeding)
ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย ระวังการตักอาหารไม่ทำหกใส่ผู้ป่วย
หลังป้อนเสร็จให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ บ้วนปาก แปรงฟัน
จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสารถในการทานของผู้ป่วย
เก็บถาดอาหาร
ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณพอดี
ลงบันทึกทางการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
ควรปฏิบัติเพิ่มเติม
จัดท่านั่ง/ศีรษะสูงลักษณะก้มหน้าเล็กน้อย
สอบถามผู้ป่วยเกี่ยวกับอาหารปาก
สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน
เริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ในขณะทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะ
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ควรปฏิบัติเพิ่มเติม
จับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อม
ถ้าทานได้น้อยควรทานอาหารเหลวที่สอดคล้องกับแผนการรักษา
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร(Nasogastric intubation )
เรียกสั้นๆว่า การใส่ NG tube
วัตถุประสงค์
เพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
ล้างภายในกระเพาะอาหาร
ลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
เก้ยสิ่งตกค้างในกระเพะอาหาร
ให้อาหาร น้ำ หรือยา
วิธีปฏิบัติ
เมื่อสายผ่านถึงคอ หักข้อมือเล็กน้อยให้ผู้ป่วยก้มศีรษะและกลืนสายโดยกลืนน้ำลาย
ตรวจสอบว่าสายNG เข้าไปถึงกระเพาะอาหาร
บอกให้ผู้ป่วยตั้งศีรษะให้ตรงหรือเงยหน้าเล็กน้อย สอดเข้าทางรูจมูก
ทำความสะอาดปาก/จมูก , นำเครื่องใช้มทำความสะอาดเก็บเข้าที่
เปิดห่อToomey syringeแล้วใส่Plungerให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
นำสายNG tube วัดตำแหน่งที่จะใส่
เปิดซองสายNG tube บีบK.Y.jellyลงด้านในของซอง
ใส่ถุงมือสะอาด และmask
จัดท่าให้ผู้ป่วยท่านั่ง/ยกศีรษะสูง
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการใส่
นำอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งการรักษา
การให้อาหารทางสายยางจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายาง
Bolus dose
ให้อาหารทางสายNGโดยใช้Toomey syringe
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถทานอาหารได้
Drip feeding
ให้อาหารทางสายNG โดยใช้ชุดให้อาหาร
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องหายใจ/พยาธิสภาพของระบบประสาท
วิธีปฏิบัติ
ทดสอบตำแหน่งของสายให้อาหาร
หักพับสายถอดToomey syringe ดึงPlungerออก สูบเข้ากับส่วนปลายของNG
ปูป้ากันเปื้อนรองตรงปลายสายให้อาหาร
เทอาหารใส่กระบอกsyringe คลายรอยพับออก ปล่อยให้อาหารไหลลงช้าๆ
ทำความสะอาดปาก ฟัน
กรณีให้ยาหลังอาหาร ควรเหลืออาหารค้างไว้ประมาณ10cc รินยาลงไปตรงๆ และ เหลืออาหาร5ccเติมน้ำสะอาดเพื่อไล่เศษอาหาร/ยาที่ตกค้างในสาย
จัดท่าอยุ่ในท่านั่ง / นอนตะแคงขวา
หักพับปลายสารให้อาหาร เช็ดปลายด้วยแอลกอฮอล์
ให้นอนท่าเดิม30นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด
ลงบันทึกทางการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล
ปิดจุกสายNG ใช้ก๊อสปิดให้เรียบร้อย
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask ใส่ถุงมือ
ปูผ้ากันเปื้อน/ผ้าขนหนู แกพพลาสเตอร์ที่ยึดสายออก
ตรวจคำสั่งการรักษา
หักพับสาย ดึงออก ขณะดึงผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาวๆ
ไขหัวเตียงเพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
เเช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน ตามด้วยน้ำเกลือ แอลกอฮอล์
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ำความสะอาดปาก ฟัน จมูก
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
เทอาหารใส่กระบอกsyringeและปล่อยอาหารไล่เข้าช้าๆ
กรณีให้ยาหลังอาหาร ควรเหลืออาหารค้างไว้ประมาณ10cc รินยาลงไปตรงๆ และ เหลืออาหาร5ccเติมน้ำสะอาดเพื่อไล่เศษอาหาร/ยาที่ตกค้างในสาย
หักพับสายถอดsyringeแล้วดึงplungerออกแล้วต่อกระบอกสูบเข้ากับสายให้อาหาร
เช็ดปลายสายให้อาหารด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสายดูดGastric content
หักพับปลายสายให้อาหาร เพื่อไม่ให้อากาศเข้าไปในกระเพาะอาหาร
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายออกทำความสะอาดด้วยสำลีแอลกอฮออล์70%
ปิดปลายสายอาหารให้เรียบร้อย
ตรวจคำสั่งการรักษา
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย30นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด
ล้างมือให้สะอาด วส่mask
เปิดเสื้อผ้าบริเวณGastrostomy tubeออก
จัดให้อยู่ในท่านั่ง/นอนในท่าศีรษะสูง
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การล้างภายในกระเพาะอาหาร(Gastric lavage)
วิธีปฏิบัติ
หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ ต่อสายกับกระบอกฉีดยาแล้วปล่อยสายที่พับไว้
ดูดน้ำออกเบาๆ/ปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
ใช้Toomey syringe ดูดสารละลาย50ซีซี
ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อย/ดูดน้ำออกเรื่อยๆจนไหลผ่านดี
ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผุ้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือดในกระเพาะอาหารต้องล้างจนกว่าสารน้ำมีลักษณะสีแดงจางที่สุดหรือใส
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อมทำการใส่ยางก่อนวิธีปฏิบัติเหมือนการใส่สายให้อาหาร
เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ทำความสะอาดช่องปาก/จัดท่าที่สุขสบาย
ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ประเมินสภาพผู้ป่วย อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
วัตถุประสงค์
ทดสอย/ยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่กินยาหรือสารพิษ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
การประเมิน(Assessment)