Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ - Coggle Diagram
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ความสำคัญของการวิเคราะห์นโยบาย
นักวิชาการหลายท่านได้ให้ทัศนะที่น่าสนใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะโดย Robert H. Salisbury
การเน้นถึงความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาและการแสดง
ความรับผิดชอบต่อประชาชน
เนื่องจากนโยบายมีบทบาทสำคัญดังกล่าวแล้ว ดังนั้น การวิเคราะห์นโยบายเพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้
และทักษะจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
ผลก็คือ ทําใหเ้กิดการอภิปรายทีมีคุณภาพสูงขึ้นนําไปสู่
การค้นพบทางเลือกนโยบายทีดีกวา
ความหมายของการวิเคราะห์นโยบาย
การวิเคราะห์นโยบายมีจุดเน้นแตกต่างและหลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของนักวิเคราะห์ในแต่
ละแนวทางเป็นสำคัญ
1.Susan B. Hansen (1983 : 14-15) ให้ทัศนะว่าการวิเคราะห์นโยบาย หมายถึงการมุ่งเน้นการ
วิเคราะห์อย่างเป็นระบบชัดเจนต่อผลผลิต
2.Thomas R. Dye (1984: 7) เห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเป็นการวิเคราะห์ปัญหาของสังคมที่เป็น
วิทยาศาสตร์ และสอดคล้องกับความเป็นจริง
3.James E. Anderson (1975:8) เห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ
(examination) และการพรรณนาสาเหตุและผลของนโยบาย โดยทำการวิเคราะห์การก่อรูป
4.Edward S. Quade (1982: 4) เสนอทัศนะว่าการวิเคราะห์นโยบาย เป็นการวิเคราะห์ที่ใช้ข้อมูล
เพื่อการปรับปรุงหรือเพิ่มศักยภาพในการใช้ดุลพินิจของผู้ตัดสินใจ
5.Duncan MacRae Jr. (1976: 279-289) เห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์
(applied social sacience discipline) ซึ่งใช้เหตุผลและหลักฐานในการจ าแนกประเมินผล และวิเคราะห์
แนวทางแก้ไขปัญหาสาธารณะให้ชัดเจน
6.James S. Coleman (1972) มีทัศนะใกล้เคียงกับ MacRae โดยเห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเป็น
สังคมศาสตร์ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีหลากหลาย
7.William N. Dunn (1994) เห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ที่น่าสนใจ และ
Dunn ได้เสนอทัศนะและกรอบการวิเคราะห์นโยบายที่เป็นรูปธรรมชัดเจน
8.Norman Beckman (1977) เห็นว่าวัตถุประสงค์พ้นฐานของการวิเคราะห์นโยบาย คือ การช่วย
ให้เข้าใจนโยบายอย่างชัดเจนซึ่งอาจรวมถึงการส ารวจปัญหาและประเด็นต่าง ๆ
ประการแรก การวิเคราะห์นโยบายเป็นการบูรณาการและเป็นสหวิทยา
การวิเคราะห์นโยบายเป็นการบูรณาการและเป็นสหวิทยา ( policy analysis is
integrative and interdisciplinary) Beckman
การวิเคราะห์นโยบายที่มีประสิทธิผลยังยอมรับว่าปัญหา
นโยบายเป็นปัญหาที่ซับซ้อน มีสาเหตุและผลกระทบมากมาย
ประการที่สอง การวิเคราะห์นโยบายเป็นการคาดหมาย ( policy analysis is anticipatory)
Beckman เห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายบางส่วนมีจุดเน้นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ยังเป็นการกำหนดโครงสร้างของความไม่แน่นอนขึ้นล้อมรอบสาระสำคัญของ
นโยบายด้วย
การวิเคราะห์นโยบายอาจจะช่วยจ าแนกแนวทางใหม่ที่ดีกว่า โดยการทบทวนนโยบายที่มี
อยู่เดิม การวิเคราะห์นโยบายอาจจะก าหนดทิศทางของความสนใจใหม่ไปสู่ปัญหาระยะยาว
ประการที่สาม การวิเคราะห์นโยบายเป็นการเน้นเรื่องการตัดสินใจ
เห็นว่านักวิเคราะห์นโยบายควรจะนำความสนใจไปสู่ปัญหาสาธารณะในขณะที่เขา
คาดการณ์หรือในขณะที่ปัญหานั้นเกิดขึ้นจริง
นักวิเคราะห์นโยบายควรจะรู้ว่าผู้กำหนดนโยบายส่วนใหญ่ต้อง
เผชิญกับปัญหาเฉพาะหน้าที่ไม่สามารถนิ่งเฉยหรือปล่อยให้ผ่านเลยไปได
กลยุทธ์การวิเคราะห์นโยบาย
สำหรับกลยุทธในการวิเคราะห์นโยบายนั้น นักวิเคราะห์นโยบายมักเริ่มด้วยตรวจสอบค าถามพื้นฐาน
3 ประการคือ
ประการแรก ค่านิยม (values) โดยท าการตรวจสอบว่า ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือไม่โดยพิจารณาว่า
ใครเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากการแก้ไขหรือไม่แก้ไขปัญหานั้น
ประการที่สอง ความจริง (facts) ขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้ตรวจสอบซึ่งอาจจะจำกัดหรือขยายความ
ขอบเขตความสำเร็จที่เกิดขึ้นก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่านิยมของผู้ตรวจสอบ
ประการที่สาม การกระท า (action) ขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้ยอมรับการกระทำซึ่งอาจส่งผลต่อ
ความสำเร็จและการแก้ไขปัญหาตามค่านิยมของผู้ยอมรับการกระทำนั้น
ส่วนประโยชน์ของการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การวิเคราะห์นโยบายช่วยให้ผู้ตัดสินใจนโยบายมุ่งไปสู่สิ่งที่ตนต้องการทั้งนี้เพราะการ
วิเคราะห์นโยบายจะทำให้ทราบว่า มีปัจจัยใดบ้างที่จะส่งเสริมให้เกิดความสำเร็จต่อนโยบายที่ตนปรารถนา
และมีปัจจัยใดที่เป็นอุปสรรคที่จ าเป็นต้องกำจัดออกไป
ประการที่สอง เป็นการแสวงหาแนวทางที่เป็นไปได้สำหรับการแก้ไขปัญหาของสังคม การวิเคราะห์
นโยบายจะครอบคลุมการวิเคราะห์ทางเบือกนโยบายเพื่อนำมาเปรียบเทียบ
ประการที่สาม ช่วยประเมินผลที่จะเกิดขึ้นหลังจากการตัดสินใจเลือกทางเลือกแต่ละทางเลือก การ
วิเคราะห์นโยบายจะให้ข้อมูลที่ชัดเจนว่าทางเลือกแต่ละทางเลือกมีจุดอ่อน หรือแข็งอย่างไร
ประการที่สี่ ช่วยจัดลำดับทางเลือกตามเกณฑ์ที่ผู้ตัดสินใจกำหนด หรือเพื่อให้ผู้ตัดสินใจจัดล าดับ
ความสำคัญของทางเลือกด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง
องค์ประกอบของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ในทัศนะของ Edward S. Quade (1982) เห็นว่าการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะให้มี
ความเข้าใจชัดเจน
1.วัตถุประสงค์ (Objectives) องค์ประกอบเบื้องแรกของนักวิเคราะห์นโยบายคือ การค้นหา
วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของนโยบาย
2.ทางเลือก (Alternatives) หมายถึง เงื่อนไขหรือวิธีการที่เป็นไปได้ ซึ่งผู้ตัดสินใจคาดหมายว่าจะ
นำไปสู่ผลสำเร็จ
1.สาระสำคัญของทางเลือก (desciption) เป็นข้อความที่บรรยายถึงแนวทางการทำงานของ
ทางเลือกโดยสรุป
2.ประสิทธิผลของทางเลือก (effectiveness) การพิจารณาประสิทธิผลของทางเลือกที่จะบรรลุ
วัตถุประสงค์นั้น
3.ต้นทุน (cost) การประมาณการต้นทุนทั้งหมดของแต่ละทางเลือก ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะ
ปัจจัยที่ท าให้การวิเคราะห์ผิดพลาด
4.ผลลัพธ์ที่ไม่คาดหมาย (spillovers) เป็นผลที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากที่ก าหนดไว้ในการบรรลุ
วัตถุประสงค์
5.การจัดล าดับทางเลือก (comment on ranking) เป็นการเปรียบเทียบทางเลือกต่าง ๆ เพื่อ
จัดล าดับความส าคัญของทางเลือกแต่ละทางเลือก
6.การพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ (other considerations) เป็นการพิจารณาถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่มิได้
พิจารณามาก่อน
3.ผลกระทบ (Impacts) หมายถึง ชุดของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมากจากการเลือกทางเลือก
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ
4.เกณฑ์การวัด (Criterias) หมายถึง กฎหรือมาตรฐานที่ใช้จัดลำดับความสำคัญของทางเลือกตามที่
ประสงค
5.ตัวแบบ (Models) หัวใจของการวิเคราะห์การตัดสินใจ คือ กระบวนการหรือการสร้างสรรค์ที่
สามารถท านายที่จะเกิดจากทางเลือกแต่ละทางเลือกได
กระบวนการวิเคราะห์นโยบาย
การศึกษาการวิเคราะห์นโยบาย นอกจากจะ
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญ ความหมาย กลยุทธ์และองค์ประกอบของการวิเคราะห์นโยบาย
1.แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ในฐานะที่การวิเคราะห์นโยบายเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ที่ใช้ระเบียบวิธีการศึกษาหลายวิธี
(multiple methods) ในการแสวงหาความรู้และการถกเถียงเพื่อการตรวจสอบและแปลงเปลี่ยน
1.แนวทางเชิงประจักษ์ (empirical approach) เป็นแนวทางที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริง (facts) โดย
การตั้งค าถามว่า “มีอะไรปรากฏอยู่บ้าง”
2.แนวทางเชิงประเมิน (valuative approach) เป็นแนวทางที่มุ่งจะอธิบายถึงคุณค่า (worth) หรือ
ค่านิยม (value) ของสังคมที่มีต่อปัญหานโยบาย
3.แนวทางเชิงปทัสถาน (normative approach) เป็นแนวทางที่มุ่งเสนอทางเลือกเพื่อการแก้ไข
ปัญหาในอนาคต
2.กระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
1.วัฏจักรของกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย (
ประการแรก การระบุปัญหานโยบาย (clarifying the problem) การวิเคราะห์นโยบาย
จะต้องเริ่มต้นจากการระบุปัญหานโยบายให้ชัดเจนว่า ปัญหาที่กำลังปรากฏอยู่นั้นเป็นปัญหาอะไร
ประการที่สอง การก าหนดวัตถุประสงค์ (determining objectives) เมื่อทราบลักษณะ
ปัญหานโยบายที่ชัดเจนแล้ว นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องกำหนดเป้าหมาย
ประการที่สาม การค้นหาและก าหนดทางเลือก (searching and designing alternatives)
เมื่อนักวิเคราะห์ได้ก าหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแล้ว สิ่งที่จะต้องกระท าต่อไปคือจะต้องค้นหาแนวทางในการ แก้ไขปัญหานโยบายให้สอดคล้องกับวัตถุปะสงค์ที่ก าหนดไว
ประการที่สี่ การรวบรวมข้อมูลและข่าวสาร (collecting data and information) เมื่อได้
ก าหนดทางเลือกส าหรับการแก้ไขปัญหาทางสังคมไว้อย่างชัดเจนแล้ว ขั้นตอนสำคัญต่อไป คือ นักวิเคราะห
ประการที่ห้า การสร้างและทดสอบตัวแบบ (building and test models) เมื่อได้ทางเลือก
สำหรับการแก้ไขปัญหานโยบาย
ประการที่หก การตรวจสอบทางเลือกที่เหมาะสม (examining alternatives for feasibility
) เมื่อทำการทดสอบตัวแบบทางเลือก จนปรากฏชัดเจนว่ามีทางเลือกใดบ้างที่มีความเป็นไปได
ประการที่เจ็ด การประเมินต้นทุนและประสิทธิผล (evaluating costs and effectoveness
) เมื่อได้ทางเลือกที่เหมาะสมแล้ว นักวิเคราะห์นโยบาย จะต้องท าการประเมินต้นทุนที่จ าเป็นต้องใช้ในการน า
ประการที่แปด การแปลผลที่เกิดขึ้น (interpreting results) เมื่อผู้ตัดสินใจนโยบายตัดสินใจ
เลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
ประการที่เก้า การทบทวนฐานคติ (questioning assumptions) เมื่อท าการประเมินผลจาก
การน านโยบายไปปฏิบัติแล้ว นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องนำผลการประเมินมาทบทวนฐานคติให้ชัดเจนว่า ในกรณีที่ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ประการที่สุดท้าย การก าหนดทางเลือกใหม่ (opening new alternatives) ในกรณีที่การนำ
นโยบายไปปฏิบัติเกิดผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ และลักษณะปัญหานโยบายเป็นปัญหาที่ต่อเนื่อง
ระเบียบวิธีและระบบข้อมูลการวิเคราะห์นโยบาย
1.ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การกำหนดโครงสร้างของปัญหา (problem structuring) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์
นโยบายที่ใช้สำหรับรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อให้การจำแนกและระบุปัญหาชัดเจน
ประการที่สอง การทำนาย (forecasting) เป็นระเบียบวิธีการวิเคราะห์ที่ใช้ในการทำนาย
สภาพแวดล้อมและผลลัพธ์ของชุดการปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ประการที่สาม การเสนอแนะ (recommendation) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้ในการ
วิเคราะห์เพื่อจัดลำดับทางเลือกต่าง ๆ
ประการที่สี่การกำกับนโยบาย (monitoring) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้ในการตรวจสอบ
ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลของนโยบายที่ผ่านมาก
ประการสุดท้าย การประเมินผล (evaluation) เป็นระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายที่ใช้ส าหรับ
ตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยมของแนวทางปฏิบัติของนโยบายในอดีตหรือในอนาคต
2.ระบบข้อมูลนโยบาย
ประการแรก ปัญหานโยบาย (policy problem) หมายถึงสิ่งที่เป็นความต้องการ คุณค่าหรือโอกาส
ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ประการที่สอง อนาคตนโยบาย (policy future) หมายถึงแนวทางของการกระท าที่เป็นไปได้ในการ
แก้ไขปัญหาสาธารณะ ซึ่งเป็นไปตามคุณค่าของสังคม
ประการที่สาม การน านโยบายไปปฏิบัติ (policy action or policy implementation) หมายถึง
การกระท าหรือชุดของกระท าที่ก าหนดโดยทิศทางของทางเลือกนโยบายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในอนาคต
ประการที่สี่ ผลลัพธ์นโยบาย (policy outcomes) หมายถึงผลที่สังเกตเห็นได้ของการหนดนโยบายไป
ปฏิบัติ เมื่อนโยบายถูกนำไปปฏิบัติผลที่บังเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ก็ตาม
ประการที่ห้า ระดับความสำเร็จของนโยบาย (policy performance) หมายถึง ระดับความสำเร็จ
ของผลลัพธ์นโยบายเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่คาดหวังไว
3.ความสัมพันธ์ระหว่างระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบายและระบบข้อมูลนโยบาย
ตามแนวความคิดของ William N. Dunn (1994) เห็นว่าในกระบวนการวิเคราะห์นโยบายนั้น ทั้ง
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบายและระบบข้อมูลนโยบายมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การวิเคราะห์นโยบายเชิงประจักษ
1.อรรถประโยชน์ของการวิเคราะห์เส้นทาง
2.ตัวแบบสาธิตการวิเคราะห์เส้นทาง
1.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดอัตรากำลังพลตำรวจในเขตชุมชนเมืองของสหรัฐอเมริกา
2.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการในประเทศต่าง ๆ
-อายุของการใช้ระบบสวัสดิการสังคมในแต่ละประเทศ
-อายุของประชากร
รัฐเผด็จการ
รัฐเสรีประชาธิปไตย
ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ