Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินโครงการด้านสาธารณสุข - Coggle Diagram
การประเมินโครงการด้านสาธารณสุข
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์
เป็นวิธีการ เพื่อช่วยในการตัดสินใจเมื่อต้องการเลือกบางโครงการจากโครงการที่มีอยู่ทั้งหมด ผลของการประเมินโครงการทางเศรษฐศาสตร์จะมีความเป็นรูปธรรมสูงจนใช้ประกอบการตัดสินใจได้ง่าย
แนวคิดและโมเดลการประเมินแบบซิป หรือ “CIPP Model”
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P ) ประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาแก้ไขปรับปรุงให้การดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P ) ประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิกขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการ
การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation : I ) ประเมินเพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ
การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C) เป็นการประเมินก่อนการดำเนินการโครงการ เพื่อพิจารณาหลักการและเหตุผล ความจำเป็นที่ต้องดำเนินโครงการ
.แนวคิดและเทคนิค PERT และ CPM
เป็นเทคนิคเชิงปริมาณด้านการวิเคราะห์ข่ายงาน ที่ใช้กันแพร่หลายในการวางแผนและควบคุมงานที่มีลักษณะเป็นงานโครงการ
ความแตกต่างระหว่าง PERT และ CPM
ข้อแตกต่างชัดเจนระหว่าง PERT และ CPM คือ เวลาในการทำกิจกรรม เวลาในการทำกิจกรรมของ PERT จะเป็นเวลาโดยประมาณซึ่งคำนวณได้ด้วยการใช้ความน่าจะเป็นึงใช้กับโครงการที่ไม่เคยทำมาก่อน ส่วนCPM นั้น เวลาที่ใช้ในกิจกรรมจะเป็นเวลาที่แน่นอน ซึ่งคำนวณได้จากข้อมูลที่เคยทำมาก่อน
การประเมินตามกรอบตรรกของโครงการ
2 วัตถุประสงค์ คือผลงานหรือผลลัพธของแผนงาน หรือ
โครงการที่เราหวังวาจะเกิดขึ้นวัตถุประสงค์
3 ผลผลิต ผลที่ผู้ดำเนินงานโครงการประสงค ที่จะใหเกิดขึ้นจากการใชทรัพยากรและการบริหารโครงการอยางมีประสิทธิภาพ
1 เป้าหมายสูงสุด จุดมุงหมายของแผนงานหรือผลกระทบของโครงการที่เราคาดหวังวาจะเกิดขึ้น ซึ่งจะสงผลเกิดประโยชนตอสวนรวมหรือประเทศในระดับที่สูงกวาระดับวัตถุประสงคขององคการ
4 กิจกรรม คือกระบวนการ หรือการกระทำที่จำเป็นในการ
เปลี่ยนแปลงทรัพยากรและปจจัยการผลิตใหบังเกิดผลผลิต
5 ปัจจัย คือทรัพยากรในโครงการเพื่อใหเกิดผลผลิต
การใช้ประโยชน์ของการประเมินโครงการในงานด้านสาธารณสุข
3) ทางเลือกในวิธีการรักษา แพทย์ยังต้องตัดสินใจ
ว่าจะใช้วิธีการรักษาผู้ป่วยนั้นด้วยวิธีใดจึงจะมีประสิทธิภาพทั้งทางด้านการแพทย์และทางเศรษฐกิจ
4) ทางเลือกเกี่ยวกับสถานที่จะให้การดูแลรักษาผู้ป่วย ปัญหาสถานที่ที่ผู้ป่วยควรจะไปรับการ
รักษารวมทั้งสถานที่ที่ผู้ป่วยควรพักอยู่ในระหว่างการรักษา
2) ทางเลือกในวิธีการตรวจหาสาเหตุของโรคหรือชนิด
ของเชื้อโรคหรือแม้แต่การหาส่วนของร่างกายที่ทำให้เกิดความไม่สบาย
5) ทางเลือกในการจัดองค์การจัดการเพื่อการสาธารณสุข
1) ทางเลือกในการป้องกันการเจ็บป่วย ซึ่งมีทั้งการป้องกัน
เบื้องต้น และการป้องกันขั้นทุติยภูมิซึ่งการป้องกัน ขั้นเบื้องต้นได้แก่ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคต่างๆ
รูปแบบในการวิเคราะห์โครงการด้านสาธารณสุขในเชิงเศรษฐศาสตร์
2) การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผล
3) การวิเคราะห์ต้นทุนผลได
1) การวิเคราะห์ต้นทุนต่ำสุด
4) การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน
การประเมินต้นทุนของโครงการ
2) การวัดต้นทุน
3) การให้ค่าต้นทุน
1) การระบุต้นทุน
การประเมินมูลค่าของชีวิต
แนวทางประเมินแบบแฝงจากการตัดสินใจในอดีต
แนวทางความเต็มใจจ่าย
แนวทางทุนมนุษย์
การประเมินการเพิ่มคุณภาพชีวิต
แปลงระดับต่างๆข้างต้นให้เป็นดัชนีสุขภาพ
ใช้กระบวนการบางอย่างแปลงค่าดัชนีสุขภาพให้เป็นมูลค่าในรูปของเงิน
แบ่งระดับของประสิทธิภาพหรือสุขภาพโดยพิจารณาจาก
ระดับความสามารถในการทำงานหรือ
การเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม และแบ่งระดับความรู้สึกของภาวะจิตใจ