Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนการ
ความหมายของโภชนาการแลภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน ในโภชนาการไม่ได้มุ่งการปรุงแต่งอาหารให้มีรสชาติ สีสันสวยงาม ราคาถูกมาบริโภค มุ่งเน้นเรื่องคุณภาพอาหาร
ภาวะโภชนาการ
Malnutrition ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกัความต้องการ
Over nutrition ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกายแบะเก็บสะสมจนเกิดอาการปรากฏเป็น ไขมัน
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ เด็กต้องการอาารมากกว่าวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
เพศ เพศชายต้องการพลังงานมากกว่าผู้หญิง
การใช้ยา ยาที่มีผลข้างเคียง
ภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วยเรื้อรัง
ความชอบส่วนบุคคล ความชอบและไม่ชอบบริโภคของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ผลจาการการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต การดำเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพ
เศรษฐานะ ภาวะเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา
ปัจัยด้านจิตใจ ความเครียด ความกลัว
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
เพศ
อายุ
ส่วนสูง น้ำหนัก
ความรุนแรงของโรค
สูตรคำนวณวามต้องการพลังงานพื้นฐาน
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้
ความต้องการำลังงานพื้นฐาน
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
Body Mass Index
การประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด
Biochemical assessment
วิธีเจาะเลือดเพื่อหระเมินภาวะโภชนาการ
Clinical assessment
วิธีการตรวจร่างกายแบบเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ
Dietary assessment
ประวัติการรับประทานอาหาร ชนิดของอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity ภาวะอ้วน
ร่างการสะสมไขมันมากเกินไป
การพยาบาล
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
จำกัดมื้ออาหารตามพีระมิดอาหาร
จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการับประทานอาหารแป้ง ไขมันสูง
หลีกเลี่ยงการดูโทรทัศน์ขณะรับประทานอาหาร
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีกากใย
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
Emaciation ภาวะผอมแห้ง
ภาวะเบื่ออาหารความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
ความผิดปกติพฤติกรรมารรับประทาน โดยเฉพาะในแต่ละวัน หลายๆครั้ง จนรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไป
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ
หาสาเหตุ
คออักเสบ มะเร็ง โรคปากและฟัน
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้เบื่ออาหาร
ดูแลด้านจิตใจ สร้างบรรยาการผ่อนคลาย
การใช้ยา แพทย์อาจะให้ยากระตุ้นการอยากอาหาร
การดูแลผู้ป่วย
พยายามให้รับประทานอาหารมากที่สุด
พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อาการคลื่นไส้และอาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยที่คลื่นไส้อาเจียน
ต้องรีบให้การช่วยเหลือทันที
จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปาก
คอยอยู้เป็นเพื่อนขณะที่อยู่ป่วยอาเจียนอาเจียน
สังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอากร่างกาย เครื่องใช้
จัดสิ่งแวดล้อม อากาศถ่ายเท
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
น้ำและอาหารในระยะแรกต้องให้งดอาหารและน้ำ
การป้องกันและแก้ไขอาเจียน
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไข
พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งการเครียด
ให้ผู้หายใจเข้าออกลึกๆ และยาวๆ
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายที่รวดเร็ว
พิจารราให้ยาระงับอาเจียน
ถ้ามีการอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักต้องใส่สายทางจมูกลงสู่กระเพาะอาหาร
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้
เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
ภาวะท้องอืด
การพยาบาลผู้ป่วยท้องอืด
จัดให้นอนให้นอนศีรษะยกสูง 45-60 องศา
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ ยินดีที่จะช่วยเหลือ
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดแะช่วยเหลือตามสาเหตุ
ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะลำบากและกลืนไม่ได้
สังเกตและประเมินอาการ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะของปากและฟัน
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจรักษา
การดูแลจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
ช้อนหรือช้อนส้อม
แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่มและหลอดดูด
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ผ้ากันเปื้อน
วิธีการปฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
ก่อนอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายเฉพาะที่สามารถเคลื่อนไหวได้
จัดให้อยู่ในท่นั่ง
ปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไป
วางถาดอาหารในตำแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็นชนิดอาหารได้
ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
การป้อนอาหาร
ตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
การป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามรถในการรับประทาน
ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย
หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ บ้วนปาก เช็ดปากให้สะอาด
เก็บถาดอาหารและเครื่องใช้ เมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนส้อมในการตักอาหาร
ถ้าป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรให้รับประทานอาหารเหลวที่สอดคล้องกับแผนการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
จัดผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะยกสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย
สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับช่องปาก
สอนวิธีการใชลิ้นและการกลืน
ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ควรมีการหยุดพักเป็นระยะๆ ช่วยให้รับประทานได้เร็วขึ้น
Nasogastric intubation
วัตถุประสงค์
ให้อาหาร น้ำ หรือา ในกรณีที่ไม่สามารถให้ทางปากได้
ลดแรงดันในกระเพะอาหารหรือลำไส้
เพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
ล้างภาในกระเพาะอาหาร กรณีกินยาพิษเกินขนาด
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจห้องปฏิบัติการ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดสำหรับเครื่องใช้
สาย NG tube เบอร์14-18 fr
Toomey syringe ขนาด 50
ถุงมือสะอาด
Stethoscope
สารหล่อลื่น
แก้วน้ำ หลอดดูด กระดาษเช็ดปาก
พลาสเตอร์ ชามรูปไต
ผ้าเช็ดตัว
วิธีปฏิบัติ
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่ง ล้างมือให้สะอาด
เตรียอุปกรณ์ไว้ที่เตียงคนป่วย ตวรสอบชื่อนามสกุลให้ถูกต้อง แจ้งผู้ป่วยให้ทราบถึงการใส่สาย
จัดท่าให้ผู้ป่วย ใส่ถุงมอสะอาดและmask ตรวจดูรูจมูก ผนังกั้นจมูก ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกแรงๆทีละข้าง
เปิดซอง NG tube บีบ K.Y. jelly ลงไปในซอง NG tube เปิดห่อToomey syringe ใส่Plunger ให้เรียบร้อย
พันสาย NG อยู่ือซ้าย พร้อมใส่สาย NG ใช้มือขวาจับปลายสายแล้วหล่อลื่นปลายสายด้วย K.Y. jelly
บอกผู้ป่วยหงสยหน้าเล็กน้อย สอดเข้าจมูกแนวด้านข้างของจมูกเอียงเล็กน้อย เมื่อสายถึงคอ ผู้ใส่หักข้อมือเล็กน้อยให้ผู้ป้วยก้มหน้าลง
ให้ผู้ป่วยกลืน้ำลายหรือดูดน้ำ ดันสายตามจังหวะการกลืนถึงตำแกน่งที่สบาย ติดพลาสเตอร์ไว้คร่าว
ตรวจสอบสาย NG ถึงกระเพาะหรือไม่
ใช้ Toomey syringe ต่อปลายสายด้านนอก ดูดน้ำย่อยจากกระเพาะ สังเกตน้ำย่อยและลมที่ออกมา
ใช้ Toomey syringe ต่อปลายสายด้านนอก ดูดลมประมาณ 10 ซีซี ต่อกับปลายสายด้านนอกวางStethoscope ฟังบริเวณ Epigastrium
ทำความสะอาดปาก จมูก และเครื่งใช้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพพยาบาล
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะ
วิธีการให้อาหารทางสายยาง
Bolus dose ให้อาหารทางสาย NG โดยใช้Toomey syringe
Drip feeding ให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดสำหรับใส่เครื่องมือ
อาหารเหลวสำเร็จรูป กรณีที่มียาหลังอาหารให้บดยาเป็นผง
ผ้ากันเปื้อน
Toomey syringe ขนาด 50
ถุงมือสะอาด
Stethoscope
แก้วน้ำ กรดาษหรือผ้าเช็ดปาก
สำลีชุบ 70% Alcohol
ชุดทำความสะอาดปากฟัน และจมูก
วิธีปฏิบัติ
อธิบายให้เข้าใจในการให้อาหารทางสาย
จัดเตรียมผู้ป่วย
ทำความสะอาดปาก ฟัน กรณีใช้เครื่องช่วยหายใจ ทำการดูดเสมหะก่อน
ปูผ้ากันเปื้อนรองตรงปลายสายให้อาหาร
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกมาทำความสะอาด
ทดสอบตำแหน่งของสายให้อาหาร
หักพับสาย ถอด Toomey syringeแล้วดึงPlungerออก ต่อกระบอกสูบเข้ากับส่วนปลายสายNG
เทอาหารใส่กระบอก คลายรอยพบออก ปล่อยอาหารไหลลงช้าๆ
ให้ยาหลังอาหาร อาหารจะหมดควรเหลืออาหารไว้ ประมาณ 10 ซีซีควรรินยาไปตรงๆ ก่อนยาหมดให้เติมน้ำสะอาดไล่อาหารและยา
หักปลายสายทำความสะอาดด้วย 70% Alcohol ให้ผู้ป่วยอยู่ท่าเดิม 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาดให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การถอดสายยางให้อาหารทางจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้ากันเปื้อนผ้าเช็ดตัว
ชามรูปไต ถุงมือสะอาด ผ้าก๊อซสะอาด
น้ำยาบ้วนปาก
สำลีชุบ 70% Alcohol
ไม้พันลำสีชุบเบนซินและน้ำเกลือ
วิธีการปฏิบัติ
อธิบายให้เข้าใจในการให้อาหารทางสาย
จัดเตรียมผู้ป่วย
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา ล้างมือให้สะอาด ใส่ถุงมือใส่mask
ปูผ้ากันเปื้อนรองตรงปลายสายให้อาหาร
หักพับสาย และดึงสาย ขณะที่ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาวๆ
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน
ทำความสะอาดปาก ฟันและจมูก
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารตามความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์เครื่องใช้
เหมือนกับให้อาหารทางสาย NG
วิธีการปฏิบัติ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจในการให้อาหารทางสาย
จัดเตรียมผู้ป่วย
เปิดเสื้อบริเวณ Gastrostomy tube หรือ Jejunostomy tube ออกปูผ้ากันเปื้อนรองไว้ใต้ tube
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา ล้างมือให้สะอาด ใส่ถุงมือใส่mask
ใช้ Toomey syringe ต่อปลายสายดูด Gastric content เพื่อตรวจสอบความสามารถของกระเพาะ
หักพับสาย ถอด Toomey syringeแล้วดึงPlungerออก ต่อกระบอกสูบเข้ากับสารอาหาร
เทอาหารใส่กระบอก คลายรอยพบออก ปล่อยอาหารไหลลงช้าๆ
ให้ยาหลังอาหาร อาหารจะหมดควรเหลืออาหารไว้ ประมาณ 10 ซีซีควรรินยาไปตรงๆ ก่อนยาหมดให้เติมน้ำสะอาดไล่อาหารและยา
หักปลายสายทำความสะอาดด้วย 70% Alcohol ให้ผู้ป่วยอยู่ท่าเดิม 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาดให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การล้างภายในกระเพาะ
วัตถุประสงค์
ล้างกระเพาะอาหารให้กรณีผู้ป่วยที่กินยาหรอสารพิษ
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดอกจำนวนน้อยในทางเดินอาหาร
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
จรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
อุปกรณ์เครื่อใช้
ชุดล้างกระเพาะอาหาร
สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ำเกลือ
ชามรูปไต ผ้าเช็ดปาก
สายยางสำหรับใส่กระเพาะ
Ky jelly
ถุงมือสะอาด และ mask
วิธีการปฏิบัติ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
ประเมิณสภาพผู้ป่วย อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ล้างมือจัดเตรียมอุปกรณ์
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม
ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยปลดสาย
ใช้ Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
ถ้ากรณีล้างกระเพาะแล้ว ใหเทำความสะอาดช่องปากและจัดท่าผู้ป่วย
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาดให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล