Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตั้งครรภ์แฝด, นางสาวจินต์จุฑา สุระ 611801010 - Coggle Diagram
ตั้งครรภ์แฝด
สาเหตุ
- อายุมารดาและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร จะพบการตั้งครรภ์สูงในมารดาที่มีอายุมากและจำนวนบุตรมาก เช่น อายุระหว่าง 35-40 ปี
- กรรมพันธุ์ พบอุบัติการณ์การตั้งครรภ์แฝดชนิดที่เกิดจากไข่ 2 ใบ (dizygotic twins) สูง รายที่มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัวโดยเฉพาะประวัติทางมารดา ซึ่งเป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรมทางฝ่ายมารดาแบบ autosomal recessive
- เชื้อชาติ พบในคนผิวดำมากกว่าคนผิวขาว
- รูปร่างของมารดา ในมารดาที่มีรูปร่างใหญ่สูง มีอุบัติการณ์การตั้งครรภ์แฝด ชนิดที่เกิดจากไข่ 2 ใบ มากกว่ามารดาที่มีรูปร่างเล็กซึ่งขึ้นอยู่กับภาวะโภชนาการด้วย
- ยารักษาภาวะมีบุตรยาก ได้แก่ Clomiphene citrate , Gonadotropin การใช้สารกระตุ้นให้เกิดการตกไข่ อาจทำให้เกิดการตกไข่คราวละหลายใบ
- ระดับโกนาโดโทรพีนในร่างกาย พบการตั้งครรภ์แฝดชนิดที่เกิดจากไข่ 2 ใบ ในรายที่มีระดับฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่ในร่างกายเพิ่มขึ้น พบในรายตั้งครรภ์ภายในเดือนแรกหลังการหยุดใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด จากการเพิ่มระดับของโกนาโดโทรพีนมากผิดปกติ
- การผสมเทียมในหลอดทดลอง การนำไข่ที่ได้จากการกระตุ้นการตกไข่ 3-4 ฟอง มาผสมกับเชื้ออสุจิ จนถึงระยะ blastocyst แล้วนำตัวอ่อน 34 ตัว ฉีดเข้าไปในโพรงมดลูก
ข้อสนับสนุน
-แพทย์ทำ Ultrasound ผลการตรวจพบทารกสองคนอยู่ในท่า LSA และROA, FHR 156 /minและ 144/min
- 5 สัปดาห์ต่อมาUltrasound พบทารกท่า LSA และ ROA, FHR 152 /min และ 134/min คะเนน้ำหนัก 2500 กรัม ทั้งคู่ - ลักษณะทารกเป็นแบบ Diamniotic, Monochorionic, monozygotic twins pregnancy
- ฟังเสียงหัวใจทารกได้ 2 ตำแหน่งและมีอัตราแตกต่างกันอย่างน้อย 10 ครั้งต่อนาที
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว โดยเฉพาะประวัติทางฝ่ายมารดา การตั้งครรภ์อายุมาก สตรีที่รูปร่างใหญ่ การให้ประวัติว่าการตั้งครรภ์ครั้งนี้พบมดลูกมีขนาดโตเร็วกว่าปกติหรือพบทารกดิ้นมากผิดธรรมดา การได้รับยากระตุ้นการตกไข่ หรือได้รับการผสมเทียมในหลอดทดลอง
การตรวจร่างกาย
-
-
-
-
-
-
-
-
การตรวจพิเศษ
-
2.การถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง (Radiographic examination) ไม่ค่อยนิยมเพราะรังสีมีผลต่อทารก และต้องมีอายุครรภ์มากกว่า 18 สัปดาห์ขึ้นไป
3.การตรวจทางชีวเคมี (biochemical test) ในการตั้งครรภ์แฝดจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีทั้งในเลือดและปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
- ภาวะโลหิตจาง (Anemia) พบจากการขาดธาตุเหล็ก เนื่องจากการเพิ่มของพลาสมามากกว่ามวลเม็ดเลือดแดง ประมาณ 300 มิลลิลิตร ทำให้ความเข้มข้นของเลือดลดลง การสะสมธาตุเหล็กลดลงประมาณร้อยละ 30
- คลื่นไส้ อาเจียนมากกว่าปกติ เพราะการเพิ่มของฮอร์โมนมากกว่าการตั้งครรภ์เดี่ยว
- ภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (Pregnency Induced Hypertention) มีรายงานพบได้ร้อยละ 16 ของครรภ์แฝด
- ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ (Polyhydramions) พบภาวะน้ำคร่ำมาก 1 ใน 4 ของการตั้งครรภ์แฝด และพบได้ในระยะไตรมาสที่ 2 ร่วมกับความผิดปกติของทารก
- การคลอดก่อนกำหนด (Preterm labor) พบร้อยละ 50 ของการตั้งครรภ์แฝดสอง ส่วนใหญ่เป็นคลอดก่อนอายุครรภ์ 36 สัปดาห์
- ท่าและส่วนนำของทารกในครรภ์ผิดปกติ
- มีภาวะสายสะดือพลัดต่ำหรือสายสะดือพันกัน
- การลอกตัวของรกก่อนทารกคนที่สองคลอด หรือการคลอดล่าช้า
- มักพบการแตกถุงน้ำคร่ำในขณะอายุครรภ์ไม่ครบกำหนด (Preterm Premature rupture of membrane : PPROM)
- การตกเลือดหลังคลอด (Post Partum Heamorrhage : PPH)
ต่อทารก
- การแท้ง (Abortion) มีสาเหตุหลัก คือ ความไม่สมบูรณ์ของตัวอ่อน พบสูงกว่าการตั้งครรภ์ปกติ อาจเป็นการแท้งทั้งหมด หรือการแท้งตัวอ่อนเพียงตัวเดียว
- มีความพิการแต่กำเนิด (congenital abnormaly) จากความผิดปกติของโครโมโซม
- การตายปริกำเนิด (perinatal mortality)
- มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติ (low birth weight) เนื่องจากการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและการคลอดก่อนกำหนด
-