Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
บทที่ 8
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
และภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
ปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ที่สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของอาหาร เริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกาย
ผ่านกระบวนการย่อย การดูดซึม การใช้จ่ายสารอาหารในร่างกาย
การเก็บสะสมสารอาหารที่เหลือใช้ และการขับถ่ายของเสีย
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร
และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหาร/สารอาหาร
ภาวะโภชนาการ
(Nutritional Status)
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับสารอาหาร
เพื่อใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
ผล สภาพ/ภาวะของร่างกายที่เกิดจาก
การบริโภคอาหาร 2 ลักษณะ
ภาวะโภชนาการดี
มีสารอาหารครบถ้วน ปริมาณเพียงพอ
กับความต้องการของร่างกาย
ใช้สารอาหารเสริมสร้างสุขภาพอนามัยได้มีประสิทธิภาพ
ภาวะโภชนาการไม่ดี
"ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)"
รับสารอาหารบางชนิดมากเกิน
ความต้องการของร่างกาย
2 ลักษณะ
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ
ขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด/มากกว่า
ขาดพลังงาน/ไม่ก็ได้ เช่น โรคขาดโปรตีน
ภาวะโภชนาการเกิน
รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย
และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
เช่น ได้รับสารอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไป
สะสมไว้ในร่างกายในสภาพไขมัน เกิดโรคอ้วน
ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ/รับเพียงพอ
แต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ
เพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนสร้าง
และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและต้องการ
สารอาหารคาร์โปรไฮเดรตและไขมันในปริมาณที่มาก
วัยเด็กมีความต้องการสารอาหาร
มากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
เพศ
เพศชายต้องการพลังงานใน 1 วันมากกว่าเพศหญิง
การใช้ยา
มีผลข้างเคียง เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เช่น ยารักษาวัณโรค-พีเอเอส (PAS) ยาลดความอ้วน
ใช้เป็นระยะเวลานานๆ จะเกิดภาวะทุพโภชนาการได้
เช่น Tetracycline
ภาวะสุขภาพ
การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล
คนกินยาก/ไม่ชอบรับประทานเพราะกลัวอ้วน
ทำให้มีภาวะโภชนาการต่ำได้
ชอบรับประทานอาหารหวานจัด อาหารไขมันสูง
ทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกินได้
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง
การบริโภคอาหารและแบบแผนการรับประทานอาหารเปลี่ยนไป
วิถีชีวิต
เสริมอาหารโปรตีนที่ทำมาจากพืชให้เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย/เลือกรับประทานอาหารเพียงมื้อเดียว
งดรับประทานสัตว์ ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ
เลือกรับประทานตลอดชีวิต มักขาดสารอาหารโปรตีน
เศรษฐานะ
ภาวะเศรษฐกิจดี ผู้คนเลือกรับประทานตามความต้องการ
ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี การเลือกรับประทานลดปริมาณลงจนกว่าจะมีกำลังซื้อกลับคืนมาอีกครั้ง
วัฒนธรรม
ความเชื่อ และศาสนา ดำเนินชีวิต มีผลต่อภาวะโภชนาการ
เช่น การรับประทานของดิบๆสุกๆตามความเชื่อจะทำให้ร่ากายแข็งแรง อาจเกิดพยาธิใบไม้ในตับได้
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความเครียด และความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลง
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วย
และความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
สารอาหารสำคัญ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และ แร่ธาตุ
ย่อยและดูดซึม นำไปสร้างพลังงานในการดำรงชีวิต และสร้างเสริมการเจริญเติบโต
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และปรับสมดุลให้
ร่างกายกลับมาสู่ภาวะปกติ หายจากการเจ็บป่วย
เสริมสร้างความเจริญเติบโตและ
การมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย
ภูมิปัญญาของหมอ
กระดูกพื้นบ้าน
ผู้ป่วยกระดูกหักควรงด ได้แก่ กุ้ง ปลาหมึก
ทำให้การรักษาถอยหลัง
ห้ามรับประทานกล้วย (ทำให้บวม)
อาหารมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วย
ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน
ดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัว และชุมชน
ภายใต้บริบทของวัฒนธรรม และประเพณีของท้องถิ่น
นำองค์ความรู้แพทย์แผนปัจจุบันมาประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ
ผลกระทบผู้ป่วยรับสารอาหาร
และพลังงานไม่เพียงพอ
การหายของแผลช้า
ความแข็งแรงและโครงสร้างของผิวหนังผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันโรคลดลง
นอนโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
และอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น
เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความต้องการพลังงานของ
ร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงาน/พลังงานที่ต้องการใช้ (EE)
พลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการสร้าง ATP
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (BEE)
พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิด
กระบวนการเมทาบอลิสซึมของร่างกาย
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
ความต้องการพลังงานทั้งหมด ( TEE)
ผลรวมของพลังงานทั้งหมดใน 1 วัน
การใช้พลังงานจากการทำงานและผู้ป่วยเฉพาะโรคในแต่ละวัน
TEE = BEE x Activity factor x stress factor
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
(Anthropometric measurement : A)
BMI = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) / ส่วนสูง (เมตร)2
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
ประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด วัดส่วนสูงและน้ำหนักแล้ว
ประเมินภาวะโภชนาการ คำนวณหาดัชนีมวลของร่างกายมีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตร
การประเมินทางชีวเคมี
(Biochemical assessment: B)
Hemoglobin (Hb) การแปลผล ค่าต่ำกว่า 10 mg% แสดงผลภาวะโลหิตจาง
ชาย ค่าปกติ 14 –18 mg %
หญิง ค่าปกติ 12-16 mg%
Hematocrit (Hct) การแปลผล ค่าต่ำกว่า 30 % แสดงผลภาวะโลหิตจาง
ชาย ค่าปกติ 40 –54 %
หญิง ค่าปกติ 37-47 %
การประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ใช้ค่าของฮีโมโกลบิน (Hb) และค่าฮีมาโตรคิต (Hct)
การตรวจร่างกายทางคลินิก
(Clinical assessment: C)
การประเมินภาวะซีด
ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง 4
(ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู
เล็บมีแถบสีขาวพาดขวาง = ภาวะขาดโปรตีน
กดตรงกลางเล็บแล้วปล่อย
(ปกติจะกลับมาสีชมพูเหมือนเดิมไม่เกิน 2 วินาที)
เล็บที่คล้ายรูปช้อน ผิวไม่เรียบ = การขาดธาตุเหล็ก
ตรวจดูฝ่ามือ เทียบกันทั้ง 2 ข้าง (ปกติจะมีสีชมพู)
ตรวจร่างกายเบื้องต้น ได้แก่
ผิวหนัง ผม ฟัน เหงือก ริมฝีปาก ลิ้น และเปลือกตา
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
(Dietary assessment: D)
ประวัติการรับประทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภคพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
มีประวัติรับประทานอาหารเจตลอดชีวิต
ผลการประเมิน: มีโอกาสขาดสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย
สามารถประเมินปัญหาของผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมและให้การพยาบาลได้ตรงจุดอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
: ภาวะเบื่ออาหาร
กลไกการเกิด
กระตุ้นที่ไม่เหมาะสมของศูนย์ความหิว (Feeding center)
และศูนย์ความอิ่ม (Satiety center) ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส
ทำให้อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ขาดอาหาร
อาจเป็นโรคจากการขาดสารอาหารและพลังงาน
รู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร ทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อยเกิดควบคู่กับคลื่นไส้ อาเจียน
ลักษณะหนังหุ้มกระดูก น้ำหนักลดมาก ขนตามตัวบาง
ประจำเดือนหยุดชะงัก ความดันเลือดและ
อุณหภูมิร่างกายต่ำลงเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
Bulimia Nervosa : พฤติกรรม
การรับประทานวันละหลายครั้งและมาก
เอาออกโดยอาจล้วงคอให้อาเจียนออกมาจนหมด
หรือกินยาระบายอย่างหนัก ตลอดจนอดอาหาร
หลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจ
และรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และน้ำหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
ภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
ดูแลด้านจิตใจ ให้ช่วงเวลาทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย
สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย
การใช้ยายากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้าน Serotonin ได้แก่ Cyclohepatadine และ Pizotifen
ทำให้มีการหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง กระตุ้นศูนย์ความหิว
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
จัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย รักษาความสะอาดปากและฟัน
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอ
กับความต้องการของร่างกาย
พิจารณาและแนะนาเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย/ทำกิจกรรมตาม
สภาพร่างกายของผู้ป่วย
พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด
การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ เช่น การให้อาหารทางสาย
ที่ใส่ทางจมูกถึงกระเพาะอาหาร
หาสาเหตุ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง และขจัดสาเหตุ
Nausea and vomiting
(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร/ลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก มีการบีบตัวของลำไส้เล็กส่วนต้น/กระเพาะอาหารส่วนล่างอย่างแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
อาการคลื่นไส้และอาเจียน
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
ระยะแรกงดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย
เมื่ออาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก ช่วยลูบหลังลงเบาๆ
คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกาลังอาเจียน เฝ้าดูด้วยความเห็นใจ สงบ
จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปาก/ผ้าไว้
ให้ผู้ป่วยสำหรับเช็ดปาก
อาการเกิดร่วม
น้ำลายมาก ตาลาย เวียนศีรษะ ความดันเลือดลดลง
การป้องกันและ
แก้ไขอาการอาเจียน
ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึกๆ ยาวๆ ภายหลังอาเจียน
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายเปลี่ยนท่าเร็วๆ
ผู้ป่วยควรนอนพักท่าศีรษะสูง หลับตานิ่งๆ
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
และหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่างๆ
พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน
(Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
ผู้ป่วยมีอาเจียนต่อเนื่อง ใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะอาหาร
เป็นทางอาเจียนออก/เป็นทางใส่สารละลายเข้าไปล้างกระเพาะอาหารในกรณีกินยาพิษ
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
และเตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้า
Obesity (ภาวะอ้วน)
วัดขนาดรอบเอว ผู้ชายมากกว่า 40 นิ้ว
ผู้หญิง 35 นิ้ว อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก
เพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง
และจำกัดอาหารมื้อเย็น
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
และจำกัดการใช้น้ำมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหาร
จากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่ำเสมอ/สัปดาห์ละ 3 วัน
สะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไปค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
เพศชายและหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
Abdominal distention
(ภาวะท้องอืด)
กระวนกระวายไม่อยากอาหาร/น้ำ
ถ้าเป็นติดต่อกันนานจะเกิดการขาดอาหาร/น้ำ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา ช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
งดอาหารที่ทาให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
ค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
แน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
ทาให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้
Dysphagia and aphagia
(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
Dysphagia ลำบากในการกลืน กลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่ง/กลืนแล้วรู้สึกเจ็บ
Aphagia กลืนไม่ได้ อาหารแข็ง ธรรมดา อ่อน/เหลว
รุนแรงมากที่สุด คือ กลืนน้ำและน้ำ/น้ำลายไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
ระมัดระวังการสำลักและดูแลด้านความสะอาด
โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา การตรวจรักษา
ส่องกล้องเข้าไปดูที่หลอดอาหาร (Esophagoscopy)
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
และดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กาลังใจ
การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
สังเกตและประเมินอาการที่เกิดขึ้น
ทันทีทันใดหรือค่อยๆ มากขึ้น
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การใส่และถอดสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastricintubation)
อุปกรณ์เครื่องใช้
Stethoscope
สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jelly
และแก้วน้ำและหลอดดูดน้ำ
พลาสเตอร์ กระดาษเช็ดปาก ชามรูปไตและผ้าเช็ดตัว
ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้ สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr.
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน ถุงมือสะอาด 1 คู่
วิธีปฏิบัติ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง/นอนศีรษะสูง
ใส่ถุงมือสะอาด และ Mask ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออก
แรงๆทีละข้าง ดูการผ่านของลมหายใจ
เปิดซองสาย NG tube จากนั้นบีบ K.Y. jelly ลงด้านในของซองสาย NG tube
บอกให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการใส่
ปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
นำสาย NG tube วัดตำแหน่งที่จะใส่สาย
เปิดห่อ Toomey syringe แล้วใส่ Plunger พันสาย NG ให้อยู่ในมือซ้าย พร้อมใส่สาย NG
หล่อลื่นปลายสาย NG ด้วย K.Y.jelly ประมาณ 5-6 นิ้ว
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งการรักษา
ล้างมือให้สะอาดและอุปกรณ์เตรียมไว้ที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบชื่อ-สกุล
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าเล็กน้อย ใช้มือขวาจับปลายสาย
ด้านที่หล่อลื่นแล้วค่อยๆสอดเข้าทางรูจมูกแนวด้านข้างของจมูก
เมื่อสายผ่านถึงคอ ผู้ใส่หักข้อมือเล็กน้อยให้
ผู้ป่วยก้มศีรษะลง บอกให้ผู้ป่วยกลืนน้ำลาย ดันสายตามจังหวะการกลืน
จนถึงตำแหน่ง ติดพลาสเตอร์ไว้คร่าวๆ
ตรวจสอบว่าสาย NG เข้าไปถึงกระเพาะอาหาร
และใช้พลาสเตอร์พันสายติดกับจมูก
ทำความสะอาดปาก และจมูก นำเครื่องใช้ไปทำความสะอาด
เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อยและลงบันทึกการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ลดแรงดันในกระเพาะอาหาร/ลำไส้
เพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
ทางให้อาหาร น้ำ/ยา กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้
ล้างภายในกระเพาะอาหารและเก็บสิ่งตกค้าง
ในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้อาหารทางสายยาง
ให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้ากันเปื้อน Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
ถุงมือสะอาด 1 คู่ Stethoscope
แก้วน้ำ กระดาษหรือผ้าเช็ดปากสาลีชุบ 70% Alcohol 2 ก้อน
ชุดทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้ อาหารเหลวสาเร็จรูปอาหารปั่น (Blenderized diet)
กรณียาหลังอาหาร บดยาเป็นผงและละลายน้ำประมาณ 15-30 ซีซี
วิธีปฏิบัติ
ทำความสะอาดปาก ฟัน ปูผ้ากันเปื้อนรองตรงปลายสาย
และปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกทำความสะอาดปลายสายด้วยสาลีชุบ 70% Alcohol
ทดสอบตำแหน่งของสาย
ให้อาหาร ได้ 2 วิธี
วิธีที่ 1 ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสาย
ดูด Gastric content ออกมาตรวจดูปริมาณ
วิธีที่ 2 วาง Stethoscope ที่บริเวณ Epigastrium และใช้ Toomey syringe
ดันอากาศประมาณ 5-10 มล. เข้าไปทางสายให้อาหาร
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล ข้อดีและประโยชน์
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
หักพับสาย ถอด Toomey syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับส่วนปลายของสาย NG
และเทอาหารใส่กระบอก Syringe คลายรอยพับออก และปล่อยให้อาหารไหลต่อเนื่อง
กรณีให้ยาหลังอาหาร
ก่อนที่อาหารจะหมดควรเหลืออาหารไว้ใน
Syringe ประมาณ 10 ซีซี และควรรินยาลงไปตรง ๆ
ก่อนยาจะหมด เหลือค้างใน Syringe ประมาณ 5 ซีซี
เติมน้ำสะอาดเพื่อไล่เศษอาหารและยาที่ตกค้างอยู่ในสายให้อาหาร
หักพับปลายสายให้อาหาร และเช็ดปลายสาย
ปิดจุกสาย NG ใช้ก๊อสปิดไว้ และให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่
และลงบันทึกทางการพยาบาล
วิธีการให้อาหารทางสายยาง 2 วิธี
Bolus dose ใช้ Toomey syringe
เหมาะกับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
Drip feeding ใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
ปรับจานวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการให้ตามความต้องการ
เหมาะกับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้อนอาหาร (Feeding)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
และช้อน/ช้อนส้อม
แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
และกระดาษหรือผ้าเช็ดปากและผ้ากันเปื้อน
วิธีปฏิบัติ
การป้อนอาหาร
ไม่จ้องหน้าผู้ป่วย ไม่ทำอาหารหกรดผู้ป่วย
หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้า บ้วนปาก แปรงฟัน
ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
และจังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทานอาหาร
เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่างๆ
และลงบันทึกทางการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัด สาธิตการใช้ช้อน
และส้อมในการตักอาหารใส่ปาก
ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลว
ที่สอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย์
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
จัดให้อยู่ในท่านั่ง กรณีที่นั่งไม่ได้จัดให้นอนตะแคงขวาเล็กน้อย
และปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไป หา
วางถาดอาหารในตำแหน่งที่ผู้ป่วยมองเห็นชนิดของอาหาร
ก่อนเวลาอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกาลังกายในรายที่เคลื่อนไหวเองได้
และหลีกเลี่ยงการกระทาที่เกิดความเจ็บปวด
วางเครื่องใช้อื่น ๆ ในตำแหน่งที่สามารถหยิบได้สะดวก
และล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก
และสอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน เพื่อช่วยให้การกลืนได้ดีขึ้น
เริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน เพราะง่ายต่อการกลืน
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง/ศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งและในขณะ
รับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะๆ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การถอดสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
ปูผ้ากันเปื้อนและแกะพลาสเตอร์ที่ยึดสายจมูกออก
ตรวจคำสั่งการรักษาและล้างมือให้สะอาด
เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล
และไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน เช็ดตามด้วยน้าเกลือ
และแอลกอฮอล์แล้วเช็ดให้แห้ง ทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
หักพับสาย และดึงสายออก ขณะดึงสายให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาวๆ ใช้ผ้าก๊อสจับสายที่ดึงออกมาด้วยมืออีกข้างหนึ่ง การดึงควรดึงอย่างนุ่มนวลแต่เร็วระวังสายยางสะบัด
Gastrostomy tube feeding ให้อาหารทางสายยาง
ให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
สำลีชุบ 70% Alcohol ไม้พันสาลีชุบเบนซิน และน้ำเกลือ
ถุงมือสะอาด ผ้าก๊อสสะอาด
ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว
และชามรูปไตน้ายาบ้วนปาก
Jejunostomy tube feeding
ให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของลำไส้เล็กส่วน Jejunum
การให้อาหารทางสายยางให้อาหาร
ที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด ใส่ Mask
ตรวจสอบคาสั่งการรักษา
และปลดผ้าก๊อซออก ทำความสะอาดปลายสาย
เปิดเสื้อผ้าบริเวณ Gastrostomy tube / Jejunostomy tube ออก
ปูผ้ากันเปื้อนไว้ใต้ Tube
ใช้ Toomey syringe ต่อกับ
ปลายสายดูด Gastric content
ตรวจสอบความสามารถของกระเพาะอาหาร
ในการบีบไล่อาหารไปยังลำไส้เล็ก กรณีของ Gastrostomy
กรณีของ Jejunostomy เพื่อตรวจสอบ
ความสามารถในการดูดซึมของลาไส้เล็ก
แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจจุดประสงค์
จัดให้อยู่ในท่านั่ง หรือนอนในท่าศีรษะสูง
กรณีให้ยาหลังอาหาร
ก่อนที่อาหารจะหมด ควรเหลืออาหารค้างใน Syringe
ประมาณ 10 ซีซีและควรรินยาลงไปตรง ๆ
ก่อนยาจะหมด เหลือค้างใน Syringe ประมาณ 5 มล.
เติมน้ำสะอาด เพื่อไล่เศษอาหารและยา ที่ตกค้างอยู่ในสายให้อาหาร
หักพับสาย ถอด Syringe ดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับ
สายให้อาหาร เทอาหารใส่กระบอก Syringe และปล่อยให้อาหารไหลต่อเนื่องกัน
เช็ดปลายสายให้อาหาร หักพับปลายสายให้อาหาร
ปิดปลายสายอาหารให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด ลงบันทึกทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหาร
ตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร
(Gastric lavage)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชามรูปไต/อ่างกลม
และผ้าเช็ดปาก
สายยางสาหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
Ky jelly ถุงมือสะอาด 1 คู่ และ Mask
ชุดล้างกระเพาะอาหารและสารละลาย
ที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้าเกลือ
วิธีปฏิบัติ
ดูดน้ำออกเบา ๆ/ปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
บันทึกสารน้าที่ใส่กับที่ดูดออกมาต้องมีปริมาณเท่ากัน
ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อย/ดูดออกเรื่อยๆ
ครบจำนวนตามแผนการรักษาพับสายไว้ ปลดกระบอกฉีดยา ปิดปลายสาย
ใช้ Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
หักพับสาย ต่อสายกับกระบอกฉีดยาแล้วปล่อยสายที่หักพับไว้
ค่อยดันสารละลายผ่านกระบอกฉีดยาเข้าทางสาย
เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ให้ทำความสะอาดช่องปากและจัดท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหาร ทำการล้างจนสารน้ำ
มีลักษณะสีแดงจางที่สุด
วัตถุประสงค์
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยา/สารพิษ
ทดสอบ/ยับยั้งการมีเลือดออก
จำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
กระบวนการพยาบาล
ในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยได้รับสารอาหารตรงตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ผู้ป่วยมีค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)