Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Oxytocin (หรือ Syntocinon) , อ้างอิงจาก Cunningham F.G. et al. (2018).…
Oxytocin (หรือ Syntocinon)
ข้อบ่งใช้
เพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก (augmentation)
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
การชักนำให้เจ็บครรภ์ (induction of labor)
ป้องกันและรักษาภาวะมดลูกไม่หดรัดตัว (Uterine atony)
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
คลื่นไส้ อาเจียน
ใบหน้าแดงจากหลอดเลือดขยายตัว
ให้ขนาดสูงเกิด vasodilation ทำให้เกิด BP drop
เมื่อใช้ยาขนาดเกินกว่า 20 mu/min เป็นเวลานาน อาจเกิดWater intoxication เช่น อ่อนเพลีย ซึม สับสน ชัก รุนแรงอาจเสียชีวิตได้
มดลูกแตก (Uterine rupture)
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย (Tetanic contraction)
กลุ่มยา ฮอร์โมน
การบริหารยา
เริ่มให้ 1-2 mU/min หรือ 6-12 ml/hr Titrate ทุก 15-30 นาที ครั้งละ 1-2 mU เพิ่ม Dose สูงสุดไม่เกิน 25 mU
Intravenous ด้วย infusion pump เจือจางในสารละลาย crystalloid 1,000 มล.
ข้อห้ามใช้
Unfavorable fetal position
Fetal distress
Significant cephalopelvic disproportion
Hypertonic or Hyperactive uterus
Hypersensitivity to Oxytocin
การออกฤทธิ์
Oxytocin เป็น Octapeptide hormone ที่สร้างจาก hypothalamus และมาเก็บที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง โดยระดับ Oxytocin ในกระแสเลือดที่สูงขึ้นจะเพิ่มการเคลื่อนไหวของ myometrial cell ส่งผลให้มดลูกหดรัดตัวมากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์
ได้รับอันตรายจากมดลูกแตก (Uterine rupture)
Fetal distress จากมดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
การพยาบาลในระหว่างให้ยา
ติดตามการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์และประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก สำหรับการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง ให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและ On EFM
แนะนำให้นอนพักบนเตียง จัดท่าให้นอนตะแคงซ้ายเพิ่มการไหลเวียนโลหิต
ภายหลังได้รับยา 15 นาทีแรกต้องประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและฟังเสียงหัวใจทารก หลังจากนั้นถ้าปกติให้ประเมินอย่างต่อเนื่องทุก 30 นาที
ปรับขนาดของยาตามการหดรัดตัวของมดลูกโดยให้การหดรัดตัวของมดลูก duration อยู่ในช่วง 45-60 วินาทีและ interval อยู่ในระหว่าง 2-3 นาที
อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงเหตุผลความจำเป็นของแผนการรักษา
ติดตามความก้าวหน้าโดยการตรวจทางช่องคลอดทุก 2 ชั่วโมงหรือเมื่อมีข้อบ่งชี้ เช่น อยากเบ่ง
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น ภาวะ hyponatremia, hypotension, และ water intoxication
สังเกตอาการข้างเคียงจากการได้รับยา ได้แก่ มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ คือ duration มากกว่า 90 วินาที หรือinterval น้อยกว่า 2 นาที หรือการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ คือ น้อยกว่า 110ครั้ง/นาที และมากกว่า 160 ครั้ง / นาที ควรหยุดให้ยาและให้ผู้คลอดนอตะแคงซ้าย ให้ O2 canular 4.5 ลิตร/นาที หรือ O2 face mask 8-10 ลิตร/นาที on EFM และรีบรายงานแพทย์
อ้างอิงจาก Cunningham F.G. et al. (2018). Williams Obstetrics 25th edition. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563 จาก
https://medicostimes.com/williams-obstetrics-pdf/
(p.529-530)
นางสาวปิยธิดา สิงห์นนท์
รหัสนิสิต 60106010107