Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักพื้นฐานวิทยาการระบาด (Basic Epidemiology) - Coggle Diagram
หลักพื้นฐานวิทยาการระบาด
(Basic Epidemiology)
วิทยาการระบาด
ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ พยายามค้นหา สาเหตุ ผู้ที่ได้รับผลโดยตรง สถานที่เกิดเหตุ อีกทั้งวิเคราะห์วิจัยให้ทราบถึงปัจจัยทั้งที่สนับสนุน และยับยั้งมิให้เกิดเหตุการณ์นั้นๆ เพื่อค้นหาหนทางหยุดยั้งและป้องกัน
ธรรมชาติของการเกิดและแพร่ระบาด
ศึกษาวิจัยเพื่อค้นหาวิธีควบคุมและป้องกันโรค
ศึกษาการกระจายของโรค
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรค
Host : ผู้ป่วย กลุ่มประชากรที่เจ็บป่วย
อาชีพ (เช่น แพทย์ มีโอกาสได้รับเชื้อคนไข้)
พันธุกรรม
เชื้อชาติ
ภูมิคุ้มกัน
อายุ (ในแต่ละช่วงวัยจะมีโอกาสเสี่ยงโรคที่แตกต่างกัน)
กายวิภาค
เพศ (โรคบางชนิดขึ้นกับเพศ เช่น มะเร็งเต้านม)
ความเชื่อ
Agent : สาเหตุของโรคติดเชื้อ
ชนิด
เชื้อรา
ไวรัส
แบคทีเรีย
คุณสมบัติ
ทางพันธุกรรม
ของแอนติเจน
ทางกายภาพ
ในการก่อโรค
Environment : สิ่งแวดล้อม
ด้านชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
คน สัตว์เลี้ยง
การติดต่อจากสัตว์สู่คน = Zoonosis
ด้านสังคมและเศรษฐกิจ
สังคมชนบท สังคมเมือง
การศึกษา
ระบบสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายประชากร
ด้านกายภาพ
ภูมิอากาศ
เขตร้อน อบอุ่น หนาว
ลักษณะชุมชน
ชนบท กึ่งเมือง เมือง
ภูมิประเทศ
ที่ราบ ทะเลทราย แม่น้ำ
การศึกษาทางวิทยาระบาด
เชิงพรรณนา
What Who When Where
ปัจจัยใดเป็นปัจจัยเสี่ยง
นิยามที่เกี่ยวข้อง
Case Definition
คำจำกัดความผู้ป่วย (อาการ)
Index Case
ผู้ป่วยรายแรกที่ได้รับการค้นพบโดยระบบรักษาพยาบาล
Case
ผู้ป่วยที่มีลักษณะตาม Case Definition
Population at risk
จน.ประชากรทั้งหมดที่เสี่ยงติดโรค
Carrier
ได้รับเชื้อ ไม่แสดงอาการ แต่แพร่ได้
Prevalent rate
อัตราความชุก
(จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง/ประชากรเสี่ยงทั้งหมด)100
Incident rate
อัตราผู้ป่วยใหม่
จน.ผู้ป่วยใหม่ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง/ปชก.เสียงทั้งหมด)100
Epidemic curve
นำข้อมูลมาสร้างกราฟ
เชิงประยุกต์
ตั้งสมมติฐานหาวิธีการยับยั้งการเกิดและกำจัดปจ.เสี่ยง
เมื่อทราบผลจึงกำหนดแนวทางสำหรับปชก.กลุ่มใหญ่
เชิงวิเคราะห์
Why
วิจัยหาปัจจัยเสี่ยง
แสดงเป็นตัวเลข
การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อ
Primary prevention
เจาะจงและไม่เจาะจงกับชนิดของโรค **ขณะยังไม่ติดเชื้อ
Secondary prevention
เจาะจง ด้วยการวินิจฉัย และการรักษาเจาะจงโรค
Tertiary preventin
การฟื้นฟูสภาพวิกฤต ให้คุณภาพชีวิตกลับมาคงเดิม
แก่นของวิทยาระบาด
เรียนรู้ และเข้าใจ เหตุการณ์ความเป็นไปในกลุ่มประชากร โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และวิจัย เพื่อควบคุมและป้องกัน
เทียบกับหลักพระพุทธศาสนา
อริยสัจสี่ (หลักทางวิทยากรระบาด)
สมุทัย = เหตุแห่งทุกข์
นิโรธ = ความดับทุกข์
มรรค = หนทางแห่งความดับทุกข์
ทุกข์ = โรคภัยไข้เจ็บ
อิทัปปัจจยตา (เพราะมีเหตุแห่งปัจจัย)