Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 [อนามัยสิ่งแวดล้อม] - Coggle Diagram
บทที่ 6 [อนามัยสิ่งแวดล้อม]
2.1
แนวคิดและหลักการอนามัยสิ่งเวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่าง
สุขภาพอนามัยกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
สุขภาพอนามัยกับสิ่งแวดล้อมมีความ
สัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเกิดความเสื่อมโทรม คือ การเพิ่มประชากรการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ และการกระทำของมนุษย์โดยตรง
สภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและก่อให้เกิดการเสียสมดุลของธรรมชาติ
ภาวะมลพิษทางอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้แก่
สารพิษในสิ่งแวดล้อม
ภัยในอาหาร
ขยะมูลฝอยมูลพิษแหล่งน้ำ
มลพิษในอากาศ
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
แนวทางการดำเนินการป้องกัน / ปรับปรุง / และแก้ไขด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงานอาชีวนามัย
2.3
การดูแลและการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูล
การควบคุม การทิ้งขยะมูลฝอย การเจัดเก็บ รวมถึงการขนส่ง และแปรรูปเพื่อการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย ซึ่งการกำจัดขยะมูลฝอย จะคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดในทางสุขอนามัย ทัศนียภาพ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค เพื่อทำการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสิ่งปฏิกูลไม่ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ
การสุขาภิบาลอาหาร
จัดการระดับบุคคล เช่น ความสะอาด ความปลอดภัยของอาหาร
ผู้สัมผัสอาหาร และผู้บริโภคอาหาร
การให้ความรู้ต่อผู้บริโภค
การจัดหาน้ำดื่ม
การระบายน้ำเสีย และน้ำผิวดิน (Drainage of Waste water and Surface water)
น้ำเสียที่เกิดจากการใช้น้ำในชีวิตประจำวัน ในอาคารบ้านเรือน และน้ำผิวดิน
การกำจัดไม่ถูกวิธี การปนเปื้อน กลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงวัน หรือแมลงนำโรคอื่นๆ เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น
การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค
การควบคุมเเมลงวัน
กำจัดขยะ สิ่งขับถ่ายจากมนุษย์เเละมูลสัตว์
จัดบ้านให้สะอาด เก็บของให้มิดชิด
ทำกับดักเเมลงวัน กำจัดตัวอ่อน เลี้ยงสัตว์ที่กินหนอน
การควบคุมยุง
กำจัดเเหล่งเพาะพันธุ์ยุง เเหล่งน้ำขัง
ใช้สายเคมีทำลายลูกน้ำ
เลี้ยงปลาที่กินลูกน้ำ
การควบคุมเเมลงสาบ
มั่นตรวจมิให้เเมลงสาบวางไข่
ติดชิดตะเเกงที่ท่อระบายน้ำ
เก็บอาหารอย่างมิดชิด ทำความสะอาดบ้านเรือนให้สะอาด
การควบคุมหนู
ปิดช่องทางเข้าของหนู
เก็บขยะสดมห้เป็นระเบียบเรียบร้อย
กับดักหนู
ใช้รมควัน Calcium cyanide ปิดไว้ 4 ชม.
การแก้ไขเหตุรำคาญและมลพิษ
กระทำที่ต้นเหตุ(Agent) เช่น การเปลี่ยนวัสดุ/สารเคมี กระบวนการผลิต
กระทำที่ทางผ่านระหว่าง สิ่งเเวดล้อมเเละคนงาน(Path) เช่น การติดพัดลมดูดอากาศ การระบายความร้อน
กระทำตัวคนทำงาน(Receiver) การใช้เครื่องป้อง การสวมเเว่น ถุงมือ หน้ากากฃ
2.2
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเมินสถานการณ์ความเสี่ยง
ต่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ปัจจัยด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบ
ป้องกันโรค
ประสานและบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อจัดการความเสี่ย
สื่อสารความเสี่ยง
ติดตาม และเฝ้าระวัง
สุขาภิบาลที่อยู่อาศัย
ความต้องหารขั้นพื้นฐานทางสรีรวิทยา
บ้านสูง <2 เมตร
ระบายอากาศ มีประตู หน้าต่าง
มีเเสงสว่สงที่เพียงพอ
ความต้องการขึ้นพื้นบานทางจิตวิทยา
ความเป็นส่วนตัว
ความสง่างาม
ความสะอาด
การป้องการโรคติดต่อ
กำจัดน้ำโสโครก
กำาจัดขยะ
น้ำดื่มน้ำใช้
การป้องกันอุบุติเหตุ
ทำเลที่ไม่ควรติดถนนใหญ่มากเกินไป
วัสดุที่ใชก้ในการก่อสร้างต้องเเข็งเเรงคงทน