Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด - Coggle Diagram
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
การพยาบาล
ป้องกันไม่ให้เกิด
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
ดูแลผู้คลอดที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิดและระมัดระวังการให้ยา
ไม่ให้เกิด tetanic contractiomn
กรณีต้องเจาะถุงน้ำคร่ำ ควรทำการเจาะอย่างถูกวิธี
โดยเจาะเมื่อมดลูกคลายตัว และระมัดระวังในรายที่มี Polyhydramnion
หลีกเลี่ยงการเลาะแยกถุงน้ำคร่ำ
เพราะจะทำให้เส้นเลือดบริเวณปากมดลูกฉีกขาดได้
งดการตรวจทางช่องคลอดในผู้คลอดที่มีภาวะรกเกาะต่ำ
ติดตามผลการตรวจการแข็งตัวของเลือด
การพยาบาลผู้คลอดที่เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
การดูแลให้นอนตะแคง
ดูแลให้ได้รับ oxygen ร้อยละ 100
ประเมินสัญญาณชีพ หรือ CVP
บันทึกสารน้ำและเลือดที่เข้าออกร่างกาย
กรณีทารกยังมีชีวิต เตรียมผู้คลอดเพื่อผ่าตัดคลอดอย่างเร่งด่วน
ดูแลผู้คลอดและทารกอย่างใกล้ชิด
ดูแลการได้รับยากลุ่มต่างๆ
Dogitalis
morphine
hydrocoryisol
heparin
ดูแลสนับสนุนความต้องการทางด้านอารมณ์ให้แก่ผ
ผู้คลอดครอบครัว
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ต่อมารดา
ระบบหายใจล้มเหลว
เสียเลือด
มีโอกาสเกิดภาวะช็อคได้
ต่อทารก
เสียชีวิตได้ เนื่องจากมารดาไม่ได้รับการช่วยเหลือ
อาการแสดง
หายใจลำบากอย่างฉับพลัน (Gasping of air)
Peripheral cyanosis
เจ็บหน้าอก
ไอ มีเสมหะเป็นฟองสีชมพู
หลอดลมตีบ
ชักเกร็ง
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเร็วขึ้น
สั่นและเหงื่อออกมาก
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
คลื่นไส้อาเจียน
เลือดแข็งตัวผิดปกติ
แนวทางการรักษา
แก้ไขภาวะทางเดินหายใจล้มเหลว
อาศัยหลักการ ABC
A : Airway
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
B : Breathing
ให้ออกซิเจนทาง face mask หรือ bag-mask ventilation
ผู้ป่วยมีค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน (SpO2) น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 85
Cyanosis
Circulation
กระตุ้นและช่วยฟื้นคืนชีพ ดูแลให้ได้รับ heparin ทางหลอดเลือดดำ
ควบคุมการเสียเลือด
สาเหตุ
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ทำให้ความดันในโพรงมดลูกสูง ดันน้ำคร่ำเข้าสู่หลอดเลือดที่ฉีกขาด
ถุงน้ำคร่ำที่แตกเองหรือถูกเจาะ
ทำให้เกิดช่องทางติดต่อกับกระแสเลือดได้
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน เยื่อหุ้มทารกเปื่อยฉีกขาดง่าย น้ำคร่ำจึงหลุดเข้าไปทางระบบไหลเวียนได้