Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสรีรวิทยาของผู้คลอดในระยะเจ็บครรภ์คลอด - Coggle Diagram
การประเมินสรีรวิทยาของผู้คลอดในระยะเจ็บครรภ์คลอด
Cardiovascular system
Cardiac output
ระยะที่ 1 ของการคลอด
cardiac output เพิ่มขึ้นร้อยละ 15-20 เนื่องจากขณะที่มดลูกหดรัดตัว ส่งผลให้มีปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นในระบบไหลเวียนโลหิต
ระยะที่ 2 ของการคลอด
cardiac output จะเพิ่มขึ้น และจะเพิ่มสูงสุดภายหลังรกคลอด ลดลงสู่ระดับปกติในระยะหลังคลอด
ชีพจร
มีการเปลี่นแปลงเล็กน้อย ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
ความดันโลหิต
ระยะที่ 1 ของการคลอด
ขณะมีการหดรัดตัวมดลูกความดัน systolic และ diastolic จะเพิ่มขึ้น
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ขณะมารดาเบ่งคลอดจะทำให้ความดันโลหิตสูงมากขึ้น
Respiratory system
Maternal acidosis
ระยะที่ 1 ของการคลอด
มีการทำงานเพิ่มขึ้นของมดลูกและกล้ามเนื้อ ทำให้ใช้ O2 มาก ถ้าการหดรัดตัวมดลูกถี่ หดรัดตัวนานหรือหดรัดตัวแรง จะทำให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการคั่งของ CO2
ระยะที่ 2 ของการคลอด
มารดาที่มีภาวะ CO2 สูง อาจส่งผลเกิดภาวะ fetal distress ต่อทารกในครรภ์ได้
Maternal alkalosis
เกิดภาวะหายใจเร็ว (hyperventilation) ในมารดาระหว่างที่มดลูกหดรัดตัว หรือการกลั้นหายใจระหว่างที่มดลูกหดรัดตัว
Renal system
ในระยะคลอดทุกระยะ ไตจะมีการเปลี่ยนแปลง คือ อัตราการกรองเพิ่มขึ้น จาก CO ที่เพิ่มขึ้น ทำให้มีปัสสาวะมาก และพบโปรตีนในปัสสาวะ
Gastrointestinal system
ในระยะคลอดทุกระยะ การดูดซึมอาหารจะลดลง หากได้รับยาแก้ปวด ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้มีการบีบตัวลดลง ทำให้เกิดภาวะ gastric acidosis
Metabolism
ในระยะคลอด ร่างกายจะมีการเผาผลาญน้ำตาลในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ BTสูง ขึ้นเล็กน้อย PR เต้นเร็ว RR เพิ่มขึ้น
Endocrine system
Posterior pituitary gland
กระตุ้นให้เกิดการหลั่งฮอร์โมน oxytocin
Anterior pituitary gland
กระตุ้นให้เกิดการหลั่งฮอร์โมน prolactin