Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ต่อบริกการสุขภาพ - Coggle Diagram
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ต่อบริกการสุขภาพ
แนวคิดอุปสงค์
อุปสงค์หมายถึง ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่งๆ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าและบริการนั้นๆ โดยปกติมีความสัมพันธ์ผกผันกับราคาสินค้าชนิดนั้น
การสร้างเสนอ อุปสงค์ด้วยทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค
พฤติกรรมที่สำคัญของผู้บริโภค คือการแสวงหาความพอใจสูงสุด
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ
• Education
• Health Perception
• Health Technologies
• Health Status
• Advertisement
• Budget/income
• ปัจจัยอื่นๆ
• ระยะเวลาการรับการรักษาพยาบาล
• รสนิยม
• คุณภาพของบริการ
ความสัมพันธ์ของอุปสงค์กับความจำเป็นทางสุขภาพ
อาจมีบางส่วนของอุปสงค์ที่ ถือว่าไม่ใช่ ความจำเป็นทางสุขภาพ
เรียกว่า อุปสงค์เทียม (false demand)
หรือ ความต ้องการ
บริการผ่าตัดเสริมความงาม
ทำตาสองชั้น
• เสริมจมูกให ้โด่ง
แนวคิดความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ
เนื่องจากผู้ซื้อบริการสุขภาพมีสารสนเทศน้อยกว่าผู้ขายบริการสุขภาพ การตัดสินใจเลือกบริการสุขภาพสำหรับผู้ซื้อจึงเป็นหน้าที่ของผู้ขาย
บุคลากรทางการแพทย์มักจะเลือกโดยใช้หลักเกณฑ์ความจำเป็น
ความจำเป็นสะท้อนถึงเทคนิควิธีการทางการแพทย์และสาธารณสุข
ความจำเป็นขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างการเจ็บป่วยกับการแข็งแรงสมบูรณ์
ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพขึ้นอยู่กับการระบุ (Identification) หรือการประเมิน
แนวคิดอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ
อุปสงค์ต่อบริการสุขภาพเป็นไปตามกฎของอุปสงค์
ราคาถูกลงจะซื้อเพิ่มมากขน
อุปสงค์ต่อบริการสุขภาพเหมือนกับอุปสงค์ต่อ สินค้าบริการทั่วไป
ผู้บริโภคสามารถเลือกที่จะซื้อหรือไม่ซื้อ
เมื่อซื้อก็เลือกปริมาณบริการสุขภาพที่ต้องการซื้อได้
รายได ้ เวลา ข้อมูลสารสนเทศ
นักเศรษฐศาสตร์สามารถอธิบายความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างราคากับปริมาณได้ด้วยการวิเคราะห์ผลทางการทดแทน (Substitution effect) และผลทางรายได้ (Income effect)
ปัจจัยอื่นนอกเหนือจากราคาก็มีบทบาทต่ออุปสงค์ด ้วย
หรือมีการเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์