Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์
เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดเอ (HAV)
ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือน้ำ
จาการติดเชื้อ HAV
ตับอักเสบ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อและปวดศรีษะ
ไม่มีอาการของดีซ่าน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์กับทารก
หากสตรีตั้งครรภ์มีการติดเชื้อในระยะใกล้คลอดการแพร่กระจายไปยังทารกในระยะคลอดหรือหลังคลอดได้
การป้องกันและการรักษา
ประคับประคองตามอาการ เชื้อ HAV จะไม่ผ่านรก
การพยาบาล
อธิบายเกี่ยวกับ โรคและการรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม
เชื้อไวรัสตับอกเสบชนิดบี (HBV)
ติดเชื้อ HBV
สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด
น้ำนม
รก
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรก
HBeAg ให้ผลบวก และ HBV DNA จำนวนมาก
ระยะที่สอง
เอนไซม์ตับสูง
Anti-HBe ให้ผลบวก และจำนวน ็ฺฮ DNAลดลง
ระยะที่สาม
ร่ากายสร้างภูมิคุ้มกันเข้าสู่ระยะโรคสงบ
HBeAg ให้ผลลบ Anti - HBe ให้ผลบวก ค่าเอนไซม์ตับปกติ
ระยะที่สี่
เชื้อกลับมาแบ่งตัวขึ้นใหม่
HBeAg ให้ผลลบและ anti - HBe ให้ผลบวก
เข้าสู่ภาวะตับอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ ถ้ามีจะมีไข้ต่ำๆ ปวดบริเวณชายโครงขวา คลำพบตับโต ปัสสวาะสีชา
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
เป็นพาหะของ HBV แต่ไม่แสดงอาการ
หากมีการติดเชื้อในไตรมาสที่ 3 เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
ทารก
น้ำหนักตัวน้อย ตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด
ติดเชื้อผ่านมารดาที่มีผลเลือด HBeAg เป็นบวก อาจพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับได้
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองให้คำแนะนำ อธิบายสาเหตุ การดำเนินของโรค วิธีป้องการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
ทำความสะอาดทารกทันที ลดการสัมผัสเชื้อจากเลือดและสารคัดหลั่ง
ระยะคลอด
แนะนำทารกมารับวัคซีน
สุกใส (VZV)
ติดเชื้อไวรัส Varicella - zoster virus(HZV)เชื้อเดียวกันกับโรคงูสวัด
พยาธิสภาพ
ติดเชื้อตั้งแรกคลอดจากมารดาที่ติดเชื้อขณะที่ตั้งครรภ์
Congenital varicella syndrome
ติดเชื้อในช่วง 3 เดือน
ทารกพิการ
อาการและอาการแสดง
ผื่นเป็นตุ่มน้ำใสๆ บนพื้นฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
รุนแรงกว่าเด็ก
ส่วนใหญพบ ปอดอักเสบ ปอดบวม
หัวใจล้มเหลว
อาการทางสมอง
ซึมลง ชัก
อาจเสียชีวิตทั้งแม่และทารก
ทารก
ติดเชื้อในครรภ์
ติดเชื้อปริกำเนิด
แนวทางการป้องกัน
ฉัดวัคซีนสุกใส
การพยาบาล
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ฉีดวัคซีนสุกใส
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการผักผ่อนการรับประทานอาหาร
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
ดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ระยะหลังคลอด
หากมารดาตกสะเก็ดทั้งตัวสามารถให้นมบุตรได้
ให้ยาแก้คัน
ให้ยาต้านไวรัส
หัดเยอรมัน (Rubella /German measles)
พยาธิสภาพ
กลุ่มไม่มีอาการ
กลายเป็นพาหะ
กลุ่มมีอาการทางคลินิก
พิการแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ ครันเนื้อครั่นตัว
มีผื่นเริมขึ้นใบหน้า แพร่กระจายลง หน้าอก ลำตัวแขนขา จนทัวรางกายอย่างรวดเร็ว
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา
ทารก
ความผิดปกติถาวร
หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด สมองพิการ ปัญหาอ่อน
ความรุนแรงของความพิการ พบการติดเชื้อใน 12สัปดาห์แรก
การพยาบาล
ให้วัคซีน
หลังฉีดคุ้มกำเนิดอย่างน้อย 3 เดือน
ในรายที่ไม่มีภูมิคุ้มกันแนะนำหลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ที่เป็นพาหะโดยเฉพาะไตรมาสแรก
ในรายที่ไม่มีภูมิคุ้มกันแนะนำหลีกเลี่ยงการเข้าชุมชหรือทีมีการระบาด
ติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (CMV)
พบการติดเชื้อในผู้ใหญ่ ได้รับจากเลือด การสัมผัสทางปากทางเพศสัมพันธ์ สตรีตั้งครรภ์ติเชื้อซ้ำเชื้อไวรัสก็จะแพร่เข้าสู่ทารกได้
พยาธิสภาพ
ติดต่อทางตรงและทางอ้อม
ส่วนใหญ่ติดเชื้อนี้ตั้งแต่เด็ก ไม่มีอาการของโรค
อาการ
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ
ปอดบวม ตับอักเสบ
อาการรุนแรงพบ ทางสมองและระบบประสาท
ผลกระทบ
ทารก
IUGR
fetal distress
น้ำหนักเเรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ตายคลอด
สตรีตั้งครรภ์
ภูมิคุ้มกันลดลง
ติดเชื้อซ้ำ
แท้ง
คลอดกอนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ติดเชื้อถุงน้ำคร่ำ
แนวทางการป้องกัน
ยังไม่มีวัคซีนหลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
เคยมีประวัติติดเชื้อเว้นการมีบุตรอย่างน้อย 2 ปี
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เน้นย้ำการป้องกันการแพร่กระจาย
ระยะคลอด
ทำความสะอาดร่างกายทารกทันที ดูดเมืกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
งดให้นมมารดาหากมารดามีการติดเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
มีพาหะหลักคือ แมว พาหะชั่วคราว คือ หนู กระต่ายแกะ รวมทั้งคน ติดต่อผ่านทางการรับประทานผัก ผลไม้ที่เปื้อน ดินที่มี oocyte ของเชื้อขับออกมาปนกับอุจจาระแมว
อาการและอาการแสดง
มักไม่แสดงอาการ
รุนแรง
พยาธิที่สมอง
ปอดบวม
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
มักพบผู้ที่มีภาวะบกพร่อง
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารก
ไข้
ชัก
ทารกหัวบาตร
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ระยะคลอด
ให้การดูแลระยะคลอดทั่วไป
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (ZiKa)
อาการและอาการแสดง
ในหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลทำให้ทารกหัวเล็กโดยเฉพาพไตรมาสแรก
ยุงเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกันกับพาหะนำโรคไข้เลือดออก
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
แสดงอาการมากในไตรมาสที่ 3
ผื่นขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์บางรายอาจพบผื่นหลังคลอด
ทารก
ตาและการมองเห็น
ภาวะศีรษะเล็ก
การรักษา
รักษาตามอาการ
การพยาบาล
แนะนำการป้องกัน สาเหตุและปัจจัยทีทำให้เกิดโรค
นอนในมุ้ง
กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุง
หลีกเลี่ยงการเดินทางไปต่างประเทศ
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์(Covid -19 during Pregnancy)
เกิดจากเชื้อ Corona ชื้อ SARS-CoV-2 อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่
อาการ
ไม่แสดงอาการใดๆ
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อเยื่อหุ้มเด็ก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกเสื่อม
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารก
พัฒนาการล่าช้า
คลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อ Covid-19 ตรวจพบทันทีหลังคลอด
การตรวจพิเศษ
เอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์ชองอกพบปอดอักเสบ
แนวทางการรักษา
สถานที่และบุคลากร
ใช่ชุด PPEและfull PPE
การดูแลรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่ส่งสัยติดเชื้อโควิด-19
ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
ให้ favipiravir
ดูแลทารกแรกเกิด
ให้ดูนมจากเต้า
ดูแลมารดาหลังคลอด
หลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด