Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
และการสื่อสารด้วยข้อมูล
การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม
การสร้างความโด่ดเด่น
เพื่อให้ผู้รับสารมุ่งตรงไปยังแหล่งข้อมูลที่ได้รับสารอย่างรวดเร็ว
การแสดงลำดับ
เพื่อให้ผู้รับสาร ตีความและเข้าใจภาพหรือแผนภูมิที่นำ
เสนอได้ง่ายมาใช้เรียงลำดับข้อมูล จากน้อยไปหามาก
หรือ จากมากไปหาน้อย
การจัดกลุ่ม
แสดงการแบ่งกลุ่มของข้อมูล
การแบ่งปริมาณ
เพื่อให้ผู้ที่ได้รับสารสนใจและเรียนรู้อย่างรวดเร็วตรงจุด
ตามที่ต้องการให้สำหรับการแสดงข้อมูลเชิงปริมาณ
นำเสนอข้อมูลเป็นภาพให้น่าสนใจและเข้าใจง่าย
จะใช้หลักการในการมองเห็นและรับรู้ของจาคส์เบอร์ตีน
ตัวแปรการมองเห็น
สี
ลวดลาย
รูปร่าง
ขนาด
ความเข้ม
ตำแหน่ง
ทิศทาง
การสื่อสารด้วยข้อมูล
การถ่ายทอดข้อมูลหรือการสื่อสารจากแหล่ง
ข้อมูลไปยังผู้รับสาร
การเล่าเรื่องราวจากข้อมูล
การทำเนื้อหาหรือความรู้ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถถ่ายทอดไปยังผู้อ่านหรือผู้ฟังได้อย่างน่าสนใจ
การนำเสนอให้ผู้อื่นทราบและประสบความสำเร็จมี 4 แบบ ดังนี้
1.แบบร้านกาแฟ
เหมือนการพูดคุยในร้านกาแฟ
2.แบบตู้กดน้ำ
เหมือนการพูดคุยขณะ กดน้ำ
3.แบบห้องทดลอง
เหมือนการทดลองและลงมือปฏิบัติในห้องทดลองซึ่งได้รับประสบการณ์จากการที่ได้ลงมือปฏิบัติจริง
แบบห้องสมุด
เหมือนการเข้าศึกษาในห้องสมุดที่มีเอกสารตำราวิชาการ
งานวิจัยและการค้นคว้า เชิงลึกในสิ่งที่ตนเองสนใจ
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
การใช้ตัวแปรในการมองเห็นของข้อมูลนั้นจะต้องระวังไม่ให้ตัวแปรที่ใช้แสดงผลในด้านอื่นๆ
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
แผนภาพกระจาย
นอกจากกระของข้อมูลแล้วยังแสดงการเปรียบเทียบได้ดี
รูปวงกลม
สร้างโดยการเขียนวงกลมและแปลงวงกลมออกเป็นสัดส่วนตามจำนวนข้อมูล
แผนภูมิแท่ง
แสดงความแตกต่างในเชิงปริมาณได้ชัดเจน
การเลือกใช้แผนภาพ
ไม่ว่าจะเป็นแผนภูมิวงกลม แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น และ
แผนภาพกระจาย จะขึ้นอยู่กับข้อมูลและจุดประสงค์นำเสนอ
กราฟเส้น
แสดงมิติ ของการเปลี่ยนแปลงได้ดี ใช้พื้นที่ในการแสดงข้อมูลแต่ละรายการน้องกว่าแผนภูมิแท่งมากทำให้เสนอรายการข้อมูลได้มากกว่า