Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
บทที่8
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
8.1 ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
8.1.1 ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
โภชนาการ
หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโภชนาการเป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน (Science and art of feeding) คือ ในทางโภชนาการมิได้มุ่งหวังเพียงจัดการปรุงแต่งอาหารให้มีรสชาติดี สีสัน สวยงาม ราคาถูกมาบริโภคเท่านั้น
โภชนาการ
หมายถึง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ ในอาหารหรือสารอาหาร ตลอดจนปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย
8.1.2 ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการ
หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจ าเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อ น ามาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ ความสมดุลของสารอาหารที่ได้รับเข้าไปกับสารอาหารที่ร่างกายใช้ มีอิทธิพลจากปัจจัยหลายอย่าง
ภาวะโภชนาการ
1.ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ ถูกหลักโภชนาการ
2.ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
หรือเรียกอีกอย่างว่า ภาวะทุพ โภชนาการ (Malnutrition) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงพอ แต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
1.ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า
2.ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition)
หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหาร มากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
8.2 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
4.ภาวะสุขภาพ
พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
5.ความชอบส่วนบุคคล
พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมี ผลต่อภาวะโภชนาการ
3.การใช้ยา
พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน (Tetracycline) ซึ่งเป็นยาฆ่าเชื้อโรค
6.ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์พบว่า
การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง การบริโภคอาหารเปลี่ยนไป แบบแผนการรับประทานอาหารเปลี่ยนไป หรือเบื่ออาหาร
2.เพศ
พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
7.วิถีชีวิต
ปัจจุบันมีผู้เลือกด าเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และ ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสัตว์
1.อายุ
พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ เพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
8.เศรษฐานะพบว่าภาวะเศรษฐกิจ
ดีทำให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความ
9.วัฒนธรรม
ความเชื่อ และศาสนา พบว่าการดำเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
10.ปัจจัยด้านจิตใจพบว่าความเครียด
และความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลง รู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ หรือมีอาการปากคอขมโดยไม่ทราบสาเหตุ
8.3 ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อาหาร
หมายถึง สิ่งใด ๆ ซึ่งรับประทานเข้าไปแล้ว เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตและ การมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย อาหารได้มาจากพืชและสัตว์อาหารที่รับประทานเข้าไปจะย่อยได้ สารอาหารสำคัญ ได้แก่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และ แร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึม สารอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงานในการดำรงชีวิต และสร้างเสริมการเจริญเติบโต
8.3.1 ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงาน
หรือพลังงานที่ต้องการใช้(Energy Expenditure: EE) เป็น พลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้าง Adenosine triphosphate: ATP
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน
(Basal energy expenditure: BEE) หรือพลังงานที่ ต้องการขณะพัก (Resting Energy Expenditure: REE ) BEE หมายถึง พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้ เกิดกระบวนการเมทาบอลิสซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการทำงานของอวัยวะอื่นๆ
สูตร BEE
สูตร BEE เพศชาย BEE = 66.47+ (13.75 x น้ าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง BEE = 655.09 + (9.56 x น้ าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
(Total Energy Expenditure: TEE) หมายถึง ผลรวม ของพลังงานทั้งหมดใน 1 วัน ซึ่งรวมถึง BEE พลังงานที่ใช้ในการย่อย และดูดซึมสารอาหาร การใช้ พลังงานจากการท างานของร่างกายในแต่ละวัน และการใช้พลังงานของผู้ป่วยเฉพาะโรค
8.4 การประเมินภาวะโภชนาการ
8.4.2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia) ใช้ค่าของฮีโมโกลบิน (Hb) และค่าฮีมาโตรคิต (Hct) Hemoglobin (Hb) การแปลผล ค่าต่ ากว่า 10 mg% แสดงผลภาวะโลหิตจาง
8.4.3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
เป็นวิธีการตรวจ ร่างกายเช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ แต่จะให้ความสนใจตรวจร่างกายเบื้องต้น
8.4.1 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
1.ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
เป็นการประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด โดยวัดส่วนสูงและน้ำหนักแล้ว นำมาประเมินภาวะโภชนาการโดยคำนวณหาดัชนีมวลของร่างกายมีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตร
8.4.4 การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
ประวัติการรับประทานอาหาร ชนิดของอาหารที่บริโภค พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
8.5 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
8.5.3 Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้
เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก มักเป็น อาการน าก่อนอาเจียน แต่อาจเกิดคลื่นไส้โดยไม่อาเจียนได้
อาการอาเจียน
คือ การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือ ลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก เป็นผลจากมีการบีบตัวของลำไส้เล็กส่วนต้น หรือกระเพาะอาหาร ส่วนล่างอย่างแรง
8.5.3.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
1.การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน
2.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก
ช่วยลูบหลังลงเบา ๆ เพื่อ ป้องกันการส าลักอาเจียนเข้าสู่หลอดลม
3.คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกำลังอาเจียน
พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความ เห็นใจ สงบ ไม่ตื่นเต้น ไม่แสดงท่าทีรังเกียจ คอยให้ความช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
1.จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน
เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วย สำหรับเช็ดปาก
2.สังเกตสิ่งต่างๆ
เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง ได้แก่ อาการที่เกิด ร่วมกับการอาเจียน ลักษณะของอาเจียน จำนวน เวลาที่อาเจียน สัญญาณชีพ
6.เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
3.การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
2.จัดสิ่งแวดล้อม
ดูแลให้อากาศถ่ายเทวางของให้เป็นระเบียบ ทำให้ ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
3.ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
1.ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
4.น้ำและอาหาร
ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่ออาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
4.การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
2.พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่างๆ ดูแลให้ผู้ป่วย ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
3.ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึกๆ ยาวๆ ภายหลังอาเจียน และเมื่อรู้สึก คลื่นไส้
1.พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
4.หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือเปลี่ยนท่าเร็วๆรวมทั้งหลีกเลี่ยง
5.พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน (Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
6.ถ้าผู้ป่วยมีอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะอาหาร
5.ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
8.5.4 Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
ภาวะท้องอืด
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม ทำให้เกิดอาการที่ตามมา
8.5.4.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
2.งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
3.แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
1.จัดให้นอนศีรษะสูง 45 -60 เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
4.ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
8.5.2 Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
8.5.2.2 Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะ รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
8.5.2.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
3.ดูแลด้านจิตใจ
พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย
4.การใช้ยา
แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
2.ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
5.การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
5.2พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
5.3ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย หรือทำกิจกรรมตามสภาพ ร่างกายของผู้ป่วย
5.1พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด โดยอำนวยความสะดวก และช่วยเหลือเกี่ยวกับการรับประทานตามความเหมาะสม
5.4การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ
1.หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อยๆ
ภาวะผอมแห้ง
คือ ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร และน้ำหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน ร่วมกับขาดสารอาหาร
8.5.2.1 Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย ตรงข้ามกับ ความรู้สึกอยากอาหาร (Appetite) อาการเบื่ออาหารอาจเกิดควบคู่กับคลื่นไส้ อาเจียน กลไกการเกิด ไม่ทราบแน่นอน
8.5.5 Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia)
จึงไม่สามารถกลืนได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหาร ธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว จนกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ำหรือน้ำลาย
8.5.5.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
4.ระมัดระวังการสำลัก
5.ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
3.ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
6.การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
7.การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ
1.สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้
ภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia)
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืนอาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
8.5.1 Obesity (ภาวะอ้วน)
ภาวะอ้วน
คือ ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไปมีค่าดัชนีมวล กาย (BMI)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
4.หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5.รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
3.จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
6.หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
2.จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
7.เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
1.คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
8.ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
8.6 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
8.6.3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี
1) Bolus dose
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2) Drip feeding
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo) มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการให้ อาหารได้ตามความต้องการ
8.6.3.1 อุปกรณ์เครื่องใช้
2) อาหารเหลวสำเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderized diet)
3) ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผงและละลายน้ำประมาณ 15-30 ซีซี
1) ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
4) ผ้ากันเปื้อน
5) Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
6) ถุงมือสะอาด 1 คู่
7) Stethoscope
8) แก้วน้ำ
9) กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
10) สำลีชุบ 70% Alcohol 2 ก้อน
11) ชุดทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
8.6.5 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
8.6.5.1 วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
8.6.5.2 อุปกรณ์เครื่องใช้เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
8.6.2 การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric intubation)
8.6.2.1 วัตถุประสงค์
3.เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร (Compression)
4.ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
2.เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ (Decompression)
5.เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือ ได้รับไม่เพียงพอ
8.6.2.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
4.ถุงมือสะอาด 1 คู่
5.Stethoscope
3.Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
6.สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jelly
2.สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr.
7.แก้วน้ำ
1.ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
8.หลอดดูดน้ำ
9.พลาสเตอร์
10.กระดาษเช็ดปาก
11.ชามรูปไต
12.ผ้าเช็ดตัว
8.6.4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อ วัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง แต่การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาล เมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป เช่น ให้เริ่มรับประทานอาหารหลังจากแผนการรักษาให้งดอาหารและน้ำ ทางปาก หรือผู้ป่วยรูสึกตัวดีสามารรับประทานอาหารเองได้
8.6.1 การป้อนอาหาร (Feeding)
การป้อนอาหาร
หมายถึง การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดย ผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร
8.6.1.1 วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม ความต้องการของร่างกาย
8.6.1.3 วิธีปฏิบัติ
1.การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
2.การป้อนอาหาร
3.สำหรับผู้ป่วยพิการ
4.สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
8.6.1.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
2.ช้อนหรือช้อนส้อม
3.แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
1.ถาดอาหารพร้อมอาหาร
4.กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
5.ผ้ากันเปื้อน
8.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ตัวอย่าง
ผู้ป่วยรายหนึ่ง ได้รับการวินิจฉัยโรคเป็นมะเร็งหลอดอาหาร ไม่สามารถรับประทาน อาหารทางปากได้ น้ำหนักลดลง 10 กิโลกรัมภายใน 2 สัปดาห์ สีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง เห็นกระดูกชัดเจน ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้ำแค่เล็กน้อยก็ไหล ออกทางปาก แพทย์มีแผนการรักษาให้ Retain NG tube for Feeding BD 250 ml x 5 Feed
8.7 การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
8.7.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
4) ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
5) สายยางสำหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
3) ชามรูปไตหรืออ่างกลม
6) Ky jelly
2) สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ำเกลือ (Isotonic saline)
7) ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask
1) ชุดล้างกระเพาะอาหาร (ภาชนะสำหรับใส่สารละลายทั้งสำหรับเทสารละลาย และที่ดูดออกจากผู้ป่วย และ Toomey syringe)
8.7.1 วัตถุประสงค์
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม