Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้อเยื่อพืช, นางสาววรัชยา ชัยธรรม ชั้นม5/4 เลขที่ 34 - Coggle Diagram
เนื้อเยื่อพืช
ความหมายและองค์ประกอบ
เป็นกลุ่มเซลล์พืชที่เจริญ,เปลี่ยนแปลงเพื่อทำหน้าที่เฉพาะ
ลักษณะร่วม: มีผนังเซลล์ ให้ความแข็งแรงแก่โครงสร้างเซลล์ ได้แก่
middle lamella ประกอบด้วยเพกทิน
primary cell wall ประกอบด้วยเซลลูโลส เพกทิน พบในเซลล์พืชทุกชนิด
secondary cell wall ประกอบด้วย เซลลูโลส ลิกนิน
(เพิ่มความแข็งแรง) ซูเบอริน(ป้องกันการระเหยของน้ำ)
แบ่งตามความสามารถในการแบ่งเซลล์ ได้ 2 ประเภท
เนื้อเยื่อเจริญ(meristem) ประกอบด้วยเซลล์เจริญ(primary cellบางสม่ำเสมอ นิวเคลียสใหญ่ มีการแบ่งแบบไมโทซิส เพื่อเพิ่มจำนวนตลอดชีวิต,เป็นยังเป็นเนื้อเยื่อเจริญ
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง/แคมเบียม (ขนานกับเส้นรอบวง เพิ่มจำนวนออกทางด้านข้าง,เป็นsecondary growth
vascular cambium เกิด vascular tissue
cork cambium แบ่งเซลล์ให้corkและอื่นๆ เพื่อทำหน้าที่แทนเนื้อเยื่อผิวเดิม
เนื้อเยื่อข้อ แบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนปล้องของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวยืดยาว
เนื้อเยื่อส่วนปลาย: ที่ปลายยอดและปลายราก ทำให้แต่ละส่วนยาว เป็นprimary growth
เนื้อเยื่อถาวร(permanent tissue)เจริญเต็มที่ รูปร่างคงที่ แบ่งตามหน้าที่ได้ 3 ระบบ
ระบบเนื้อเยื่อผิว ประกอบด้วยepidermis/เนื้อเยื่อชั้นผิว และperidermหน้าที่ ป้องกันเนื้อเยื่อด้านใน ประกอบด้วย
เซลล์ผิว(epidermal cell) มีช้ั้นคิวทิเคิล(ลดการระเหยน้ำ
เซลล์คุม(guard cell) มีรูปากใบ(stomatal pore)
คลอโรพลาสต์ ทั้งหมดคือปากใบ
เซลล์ขนราก เพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดน้ำและธาตุอาหาร
ระบบเนื้อเยื่อพื้น เนื้อเยื่อท่อลำเลียง และอื่นๆที่ไม่ใช่เนื้อเยื่อผิว
พาเรงคิมา มีprimary cell บางสม่ำเสมอ หน้าที่สังเคราะห์แสง สะสมอาหาร เก็บผลึก
คอลเลงคิมา primary cellหนาไม่สม่ำเสมอ หน้าที่พยุง เกิความแข็งแรงของโครงสร้างพืช
สเกลอเรงคิมา เซลล์ไม่มีชีวิต secondary cell ค่อนข้างหนา ประกอบด้วยเซลล์ fiber (ยาว หัวท้ายแหลม)และสเกอรีด รูปร่างหลายแบบ
ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง ประกอบด้วยเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน
ไซเล็ม มีเทรคีด(ปลายเสี้ยมแหลม)และเวสเซลเมมเบอร์(ใหญ่กว่าเทรคีดผนังหัวท้ายมีรู เพอร์ฟอเรชันเพลต) เซลล์ไม่มีชีวิต หลายเซลล์"เวสเซล" หน้าที่ ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
โฟลเอ็ม หน้าที่ลำเลีงอาหาร มีซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เซลล์ที่มีชีวิต มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ primary cellบาง รูเล็กๆที่หัวท้าย(ซีฟเพลต/ซีฟทิวบ์) และเซลล์คอมพาเนียน มีพลาสโมเดสมาตา ส่งเสริมการทำงานของซีฟทิวบ์
นางสาววรัชยา ชัยธรรม ชั้นม5/4 เลขที่ 34