Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2.3การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระดับเซลล์ - Coggle Diagram
บทที่2.3การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระดับเซลล์
ความผิดปกติของการทำหน้าที่ของเซลล์
การตอบสนองของเซลล์ต่อการบาดเจ็บ
Reversible injury เซลล์กลับสู่สภาพเดิมได้
เกิดไขมัน
เซลล์บวม
เซลล์ที่ไม่สามารถคืนสู่สภาพเดิมได้
Apoptosis
เซลล์ตายเดี่ยว
ใช้พลังงาน
ไม่มีการอักเสบ
อาจเป็นพยาธิสภาพหรือปกติก็ได้
Necrosis
มีการอักเสบ
เซลล์ตายเป็นกลุ่ม
จัดเป็นพยาธิสภาพ
ไม่ต้องใช้พลังงาน
กลไกการปรับตัวของร่างกาย
มีการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมและสารเคมีในร่างกาย
กลไกการปรับตัว
ระยะที่2 Stage of resistance ถ้าระยะคุกคามยังอยู่ร่างกายจะเข้าสู่ระยะต่อต้าน ระยะนี้ระบบประสาทส้่วนนอกทำงานเต็มที่
ระยะที่3 Stage of exhaustionอยู่ในระยะที่2ยาว สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้เข้าสู่พยาธิสภาพเช่น ต่อมหมวกไตโต ต่อมน้ำเหลืองโต เลือดออกในทางเดินอาหาร
ระยะที่1 Alarm reaction หรือ fight or flight เป็นภาวะเตือนให้ร่างกายมีพลังงานพอรับมือกับความเครียด
เป็นการปรับตัวทางสรีรวิทยาควบคุมระดับเมตาบอลิซึม ในภาวะที่ร่างการเผชิญกับสิ่งที่เป็นอันตราย
ฮอร์โมนกลับภาวะความเครียด
Adrenocortical steroid เป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ควบคุมน้ำ เมตาบอลิซึม ระบบภูมิคุ้มกัน การอักเสบ การสืบพันธุ์ การทำงานของสมอง
ฮอร์โมนเพศและcortisol ที่สร้างออกมาในระหว่างความเครียดจะกดการหลั่ง luteinizing hormone(LH),estradiolและprogesterone
Aldosterone เป็นฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมหมวกไตส่วนนอก เมื่อขาดน้ำมากๆจะกระตุ้น renin-angiotensin ให้หลั่งaldosterone ที่หลอดไตส่วนปลาย ดูดกลับโซเดียมและขับโปแตสเซียม ทำให้น้ำนอกเซลล์และความดันโลหิตสูงตาม
Glucocorticoid เป็นฮอร์โมนที่ละลายในไขมัน สำคัญต่อกลูโคสเมตาบอลิซึม หลั่งจากต่อมหมวกไตส่วนนอก โดยการกระตุ้นของ ACTH จากต่อมพิทูอิทารีส่วนหน้า
เมื่อเกิดความเครียดร่างกายจะตอบสนองโดยผ่านระบบ sympathico-adrenal system
Norepinephrine กล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดหัวตัว ความดันโลหิตสูง กระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย
Epinephrine หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง มีผลต่อเมตาบอลิซึม ทำให้เกิดการสลายไกลโคเจน มีการหลังกลูโคสจากตับ เลือดไปเลี้ยงสมองได้ดี
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเจริญเติบโต เช่น การ ลด/เพิ่ม ขนาดของเซลล์
ความเครียด และความผิดปกติในการทำหน้าที่ของเซลล์
Stress and Alterations in Cellular Function
มนุษย์สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและนอกเพื่อให้คืนสู่สภาพปกติ
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นกับเซลล์มีทั้งแบบกลับคืนสู่สภาพปกติและไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติและตายได้
การบาดเจ็บของเซลล์เริ่มจากการสูญเสียNa- K pumpที่เยื่อหุ้มเซลล์ทำให้เซลล์บวม สูญเสียระบบเมตาบอลิซึม และเซลล์ในร่างกายเกิดการเสียสมดุล
การอยู่รอดของร่างกายเกิดจากการสมดุลของเซลล์ในร่างกายมีการปรับตัวกับภาวะความเครียด ปรับตัวกับภาวะการเปลี่ยนแปลงในร่างกายได้
สมองเป็นอวัยวะที่สำคัญทำหน้าที่ในการตรวจสอบ วิเคราะห์ ส่งข้อมูลโดยมีการรับสัญญาณประสาทเพื่อหลั่งฮอร์โมนและกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติค