Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติที่ใช้ในงานระบาดวิทยา - Coggle Diagram
สถิติที่ใช้ในงานระบาดวิทยา
เทคนิคการสุ่ม
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ
ให้กลุ่มชั้นภูมิเดียวกัน คล้ายกันมากที่สุด
สุ่มเลือกแต่ละชั้นภูมิด้วยการสุ่มอย่างง่ายหรือเป็นระบบ
จำนวนอาจให้เท่ากันในแต่ละชั้นภูมิหรือเป็นสัดส่วนก็ได้
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นกลุ่ม
ประชากรกลุ่มเดียวกันมีลักษณะแตกต่างกัน
โดยมากแบ่งเป็น Cluster โดยใช้พื้นที่ เช่น หมู่บ้าน
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้น
ขยายมาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
ประชากรกลุ่มเดียวกันมีลักษณะแตกต่างกัน
ส่วนหน่วยกลุ่มประชากรต่างกลุ่มกันมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
ประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวแทนเท่ากันหมด
เลือกโดยใช้ตารางสุ่มหรือจับฉลาก
การวัดอัตราตาย
อัตราตายอย่างหยาบ
ดัชนีที่แสดงถึงภัยที่เสี่ยงต่อการตาย เป็นสถิติที่หาได้ง่าย
อัตราตายอาจต่ำลงหากอัตราการเป็นโรคติดเชื้อน้อยลง
อัตราตายสูงขึ้นหากสัดส่วนของคนชรามากขึ้น
ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบภาวะอนามัยของแต่ละชุมชนได้
อัตราตายมาตรฐาน
ได้ปรับผลของความแตกต่างของประชากรหรือองค์ประกอบอื่นๆ
การปรับความแตกต่างโดยวิธีทางตรง
เลือกประชากรมาตรฐาน
คำนวณอัตราตายจำเพาะกลุ่มอายุ
คำนวณจำนวนการตายคาดหวังจำเพาะกลุ่มอายุ
คำนวณอัตราตายมาตรฐานในแต่ละพื้นที่
การปรับความแตกต่างโดยวิธีทางอ้อม
การวัดความเสี่ยงของการเกิดโรค
การวัดความสัมพันธ์
ประเมินขนาดของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและการเกิดโรค
วิเคราะห์ด้วยตาราง 2x2 และวัดขนาดความสัมพันธ์ด้วยค่า RR หรือ OR
ใช้ถิติ Chi-square ในการทดสอบว่าค่า RR หรือ OR มีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่เปรียบกับค่า 3.84
Cohort Study ( Incidence Density )
Case-Control Study ( Unmatched data )
Case-Control Study ( matched data )
การวัดผลกระทบ
การคาดการณ์ผลของปัจจัยที่มีต่อการเกิดโรคในกลุ่มประชากรเป้าหมาย
มีประโยชน์ต่อการทำนายประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการรักษา
ดัชนีที่ใช้วัดคือ Attributable risk
สัดส่วนของการเป็นโรคของกลุ่มที่สัมผัสกับปัจจัยที่มีสาเหตุมากจากปัจจัยที่สัมผัสจริง
Attributable risk
Attributable risk for the Exposure Group
กลุ่มผู้ที่สัมผัสกับ Exposure
Attributable risk for the Total Population
สัดส่วนของการเกิดโรคในกลุ่มประชากรทั้งหมดที่ลดลง
การวัดความถี่ของการเกิดโรค
อุบัติการณ์และอัตราอุบัติการณ์ของโรค
ความชุกของโรคและอัตราความชุกของโรค
การพิจารณาขนาดตัวอย่าง
สำหรับการศึกษาเชิงพรรณนา
P = อัตราความชุกของโรคที่ต้องการศึกษาได้จากผลการศึกษาในอดีตหรือการศึกษานำร่องหากไม่มีข้อมูลให้ใช้ p=0.5
n = ขนาดตัวอย่างที่ต้องการ
q = 1-p
d = ความคาดเคลื่อนที่ยอมรับได้