Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสิทธิมนุษยชน สิทธิการรักษาพยาบาล สิทธิผู้ป่วย - Coggle Diagram
หลักสิทธิมนุษยชน สิทธิการรักษาพยาบาล สิทธิผู้ป่วย
ความเป็นมาสิทธิมนุษยชน
ปลายสงครามโลกครั้งที่ 2
ลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ 26 มิถุนายน ค.ศ.1945
จัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
จัดตั้งองค์การสหประชาชาติ
ความหมาย
สิทธิ ( Rights )
สิ่งที่ติดตัวมนุษย์ทุกคนตามธรรมชาติที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์
ไม่มีใครล่วงละเมิดได้ อยู่อย่างมีเกียรติ
เสรีภาพ ( Freedom )
การที่มนุษย์สามารถทำอะไรก็ได้ภายใต้ขอบเขตของศีลธรรมอันดีงาม
สิทธิมนุษยชน
สิทธิ เสรีภาพ ที่จำเป็นขั้นพื้นฐานที่ทุกคนพึงได้รับ
อย่างเสมอภาคและเป็นธรรมในฐานะที่เกิดมาเป็นมนุษย์
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ( Human Dignity )
คุณค่าของมนุษย์ขึ้นอยู่กับความเป็นมนุษย์
สาระสำคัญปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
สิทธิทางการเมืองและสิทธิความเป็นพลเมือง ( ข้อ 3-21)
สิทธิด้านสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ( ข้อ 22-27 )
หลักการสำคัญของสิทธิมนุษยชน ( ข้อ1-2 )
หน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ ( ข้อ 28-30 )
สิทธิมนุษยชนด้านสาธารณสุข
หมวด 3 มาตรา 51ถึงมาตรา 55
บริการสาธารณสุขแก่ผู้ยากไร้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
รัฐต้องให้การช่วยเหลือ รับรองคุ้มครองและจัดสวัสดิการแก่ผู้ยากไร้
บริการด้านสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานอย่างเสมอภาค
สิทธิการรักษาพยาบาล
สิทธิประกันสังคม
คุ้มครองบริการรักษาพยาบาลให้กับผู้ประกันตนตามสิทธิ
สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท
คุ้มครองบุคคลที่เป็นคนไทยมีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก
ที่ไม่ได้รับสิทธิสวัสดิการข้าราชการและประกันสังคม
ของข้าราชการ
คุ้มครองบริการรักษาพยาบาลให้กับข้าราชการและบุคคลในครอบครัว
บุคคลที่ไม่ต้องจ่ายค่าบริการ
เด็กอายุไม่เกิน 12 ปีบริบูรณ์ คนพิการ พระภิกษุ สามเณร แม่ชี
ทหารผ่านศึกทุกระดับชั้น นักเรียนไม่เกินชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
อสม. ผู้ที่มีอายุเกินกว่า 60 ปีบริบูรณ์
นักเรียนทหารและทหารเกณฑ์
ผู้มีรายได้น้อย ผู้นำชุมชน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและแพทย์ประจำตำบล
บุคคลที่แสดงความประสงค์ไม่จ่ายค่าบริการ
การบริการสาธารณสุขที่คุ้มครอง
ค่ายาและเวชภัณฑ์
ค่าอาหารและค่าห้องสามัญ
การตรวจ การวินิจฉัย การรักษา
การจัดการส่งต่อ
บริการทันตกรรม
บริการแพทย์แผนไทย
การคลอดบุตร
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การบริการสาธารณสุขที่ไม่คุ้มครอง
การบาดเจ็บจากการประสบภัยจากรถ
การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติดตามกฎหมาย
การรักษาที่อยู่ระหว่างการค้นคว้าทดลอง
การตรวจวินิจฉัยและการรักษาที่เกินความจำเป็นจากข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
การเปลี่ยนเพศ
โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยในเกิน 180 วัน
การรักษาภาวะมีบุตรยาก การผสมเทียม
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
สิทธิผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตน
ผู้ป่วยมีสิทธิข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจ
ผู้ป่วยมีสิทธิไปขอความเห็นจากผู้ประกอบด้านสุขภาพอื่น
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล
ผู้ป่วยในภาวะเสี่ยงอันตรายมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วน
มีสิทธิทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอ
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาล
สิทธิการตาย
หมวด1
บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตาย
กฎกระทรวง
หนังสือแสดงเจตนา
วาระสุดท้ายของชีวิต
หลักการในการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
อธิบายและสภาวะของโรค
บอกเหตุผลและหลักวิชาการในสิ่งที่ปฎิบัติต่อผู้ป่วย
บอกขั้นตอนและวิธีการปฎิบัติ
บอกประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับ
ขณะให้ข้อมูลควรมีญาตติที่ใกล้ชิดผู้ป่วยและพยานฝ่ายเราร่วมรับฟังด้วย
บอกความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อน
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม
บอกทางเลือกอื่นในการรักษาถ้ามี
ระบุผู้จะทำการรักษา
ความยินยอม
วิธีการ
ยินยอมด้วยวาจา
ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร
ยินยอมโดยปริยาย
บุคคลผู้มีสิทธิ
กรณีผู้เยาว์
คนวิกลจริต/คนไร้ความสามรถ
ผู้ป่วยที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
หลักการ
ผู้ให้ความยินยอมต้องเป็นผู้มีอำนาจตามกฎหมาย
ความยินยอมต้องมีอยู่จนถึงเวลาที่แพทย์ได้ทำการปฎิบัติต่อผู้ป่วย
ต้องไม่ขดความสงบเรียบร้อย ไม่ขัดศีลธรรม
ผู้ป่วยต้องมีสติสัมปะชัญญะสมบูรณ์
ความยินยอมต้องบริสุทธิ์
ควรระบุแพทย์ผู้จะทำการปฎิบัติการรักษาให้ชัดเจนเสมอ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ป.พ.พ. มาตรา 373
พ.ร.บ. ว่าด้วยสัญญาที่ไม่เป็นธรรม มาตรา 8 วรรค 1