Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทำบรรทัดฐาน :checkered_flag: - Coggle Diagram
การทำบรรทัดฐาน :checkered_flag:
วัตถุประสงค์ของการจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน :question:
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Data Redundancy) การปรับ
บรรทัดฐาน ข้อมูลเป็นการลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลในรีเลชัน
ลดปัญหาความไม่ตรงกันของข้อมูล (Data Inconsistency) ลด
ปัญหาข้อมูลไม่ถูกต้อง
ได้รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน (Normal Form)
ฐานข้อมูลท้าให้การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
เพิ่มความคงทนให้กับโครงสร้างของฐานข้อมูล
ลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ นจากการปรับปรุงข้อมูล
รูปแบบบรรทัดฐาน :question:
รูปแบบบรรทัดฐานข้อมูลระดับที่ 1 (First Normal Form หรือ 1 NF)
(ก้าจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความซ ้าซ้อน)
หลักการปรับรูปแบบบรรทัดฐานข้อมูลระดับที่ 1
แยกแอททริบิวท์กลุ่มข้อมูลซ ้าไปสร้างเป็นรีเลชันใหม่อีก
หนึ่งรีเลชัน
น้าคีย์ที่อยู่ในรีเลชันเดิมมาร่วมสร้างเป็นคีย์หลักของ
รีเลชันใหม
แยกแอททริบิวท์ที่ไม่มีกลุ่มข้อมูลซ ้าออกเป็นรีเลชันใหม่
และหาคีย์หลักให้กับรีเลชันใหม
คุณสมบัติของรีเลชันรูปแบบบรรทัดฐานข้อมูลระดับที่ 1
เป็นรีเลชันที่มีคีย์หลัก และคีย์หลักจะต้องไม่มีค่า “Null”
ไม่มีกลุ่มข้อมูลซ ้าอยู่ในรีเลชัน
ค่าของแอททริบิวท์ต่างๆ ในแต่ละทูเพิลจะต้องมีค่าเดียว
ไม่สามารถแบ่งย่อยได
ทุก ๆ แอททริบิวท์จะต้องถูกระบุได้ด้วยค่าคีย์หลัก
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน (Normalization) :question:
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน เป็นกระบวนการที่ใช้ในการกระจายรีเลชั่นที่มีโครงสร้างซับซ้อน ออกเป็นรีเลชั่นย่อยๆ ที่มีโครงสร้างที่ง่าย ซึ่งจะช่วยทำให้ไม่มีข้อมูลที่ซ้ำซ้อน และอยู่ในรูปแบบ บรรทัดฐาน (Normal Form) ที่สามารถนำไปใช้งาน และไม่ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ ได้
ประโยชน์ของการปรับบรรทัดฐาน
การปรับบรรทัดฐานเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ให้อยู่ ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
ทำให้ทราบว่ารีเลชั่นที่ถูกออกแบบมานั้น อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานหรือไม่ และจะก่อให้เกิดปัญหาอะไรบ้าง และมีวิธีแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร
การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน (Normalization)
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างของฐานข้อมูลใหม่ โดยพยายามลดความซ้ำซ้อนของโครงสร้างฐานข้อมูล
เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มีเสถียรภาพ
Normalization
คือ เป็นวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาทางด้านความซ้ำซ้อนของข้อมูล
ข้อมูลในแต่ละรีเลชั่นอยู่ในรูปที่เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถแตกออกเป็นหน่วย
ย่อยๆ ได้อีก