Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพในระบบประสาท - Coggle Diagram
4.3 การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพในระบบประสาท
ความเจ็บปวด(pain)
ระบบควบคุมความเจ็บปวดภายใน(pain modulating system)
เซลล์ในก้านสมองส่วนล่าง
เข้าสู่เซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ด้านหลังและด้านข้างไขสันหลัง
Substantia gelatinosa หลั่งสารลดปวด
ปล่อยสารยับยั้งความเจ็บปวด เช่น serotonin,GABA,norepinephrine,endorphin เป็นต้น ออกฤทธิ์ที่เซลล์ประสาทก้านสมองส่วนล่าง
Frontal lobe และ Hypothalamus
กลุ่มเซลล์ Gray matter ทางผ่าน CSF ในโพรงสมอง 3 และ 4
เข้าสู่เซลล์ประสาทรับความรู้สึกด้านหลังและด้านข้างไขสันหลัง
ผลของความเจ็บปวด
2.กระตุ้นการหลั่งADH,aldosterone และ cortisol ไตดูดน้ำกลับ สลาย giucoseเพิ่มขึ้น
3.หากกระตุ้นบ่อยจะยับยั้ง sym และกระตุ้น parasymแทน
1.กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ทั้งกระตุ้น sym และยับยั้ง parasympathetic
4.กล้ามเนื้อหดเกร็ง เกิดกรดแลคติค
วิถีประสาทความเจ็บปวด(pain pathway)
2.Central pain pathway
Spinothalamic
Medial
Anterior
Lateral A delta
Posterior column ทำให้เกิดreflex งอเข้าลำตัว
1.Peripheral pain pathway
A delat fiber; มี myelin หุ้ม กระแสเข้า posterior gray horn
C fiber; ไม่มี myelin หุ้ม พบที่ visceral organs
กลไกการเกิดความเจ็บปวด
2.ทฤษฎีรูปแบบ(ไม่จำเพาะเจาะจง)
ตัวรับความรู้สึกปวดอยู่ที่ปลายประสาทถูกกระตุ้นขึ้นกับความถี่ ระยะเวลา บริเวณที่ถูกกระตุ้น
3.ทฤษฎีควบคุมประตู
ประตูเปิด
ถ้าใยประสาทขนาดเล็กมีมากกว่าจะยับยั้ง SG cell ทำให้กระตุ้น T-cell ส่งไปยังสมอง
ประตูปิด
กลไกควบคุมประตูอยู่ที่ spinal cord โดย SG ทำหน้าที่ควบคุมไม่ให้มีการผ่านของกระแสประสาทเข้าT-cell จึงไม่เกิดการส่งต่อไปสมอง
1.ทฤษฎีจำเพาะ
มี
free nerve ending
เปลี่ยนสารเคมีเป็นกระแสประสาทลงไปตาม
A delta
และ
C
เข้า
spinal cord
ขึ้นไปตาม
lateral spinothalamic tract
สู่
brain stem