Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การสร้างสภาพแวดล้อมเชิญสร้างสรรค์ในห้องเรียน - Coggle Diagram
บทที่1 การสร้างสภาพแวดล้อมเชิญสร้างสรรค์ในห้องเรียน
วัตถุประสงค์
•ตระหนักถึงความสำคัญของสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทั้งในแง่ของกายภาพและจิตภาพ
•เข้าใจและเห็นคุณค่าของธรรมชาติที่ซับซ้อนของการทำงานในห้องเรียน
•มีความรู้ความเข้าใจฐานะของครูเพื่อจัดการห้องเรียนและสร้างสภาพแวดล้อมเชิญสร้างสรรค์ในห้องเรียน
บทนำ เรีเรียนรู้ธรรมชาติการทำงานในห้องเรียนในบริบททางกายภาพและทางจิตภาพครูจะสามารถอาบพิปลายบริโภคทางจิตภาพซึ่งจะทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้เรียนและข้อปฏิบัติของผู้เรียนในการจัดการห้องเรียน
ห้องเรียนคืออะไร
สถานที่เพื่อการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวาสำหรับเหล่าผู้เรียน
สถานที่ซึ่งเกิดจากการปฎิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้นำไปสู่ความรู้ความเข้าใจ
พัฒนาผู้เรียน
กระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการเรียนรู้
ทำให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และคิดเทอญสร้างสรรค์
รักษาระเบียบวินัย
หัองเรียน
ห้องเรียนใช้สอยโดยเฉลี่ยที่ 80 ตารางเมตร
วางโต๊ะ
เก้าอี้สำหรับครู 1 ชุด
โต๊ะ เก้าอี้สำหรับ ผู้เรียน 30-40 ชุด
มีมุมหนังสือให้ผู้อ่านได้อ่าน
มีกระดานดำอยู่ตรงกลางผนัง โดยที่ปล่อยกระดานดำทั้งสองด้านจะมีบอร์ดสำหรับติดประกาศ
ตารางเรียน
กฎและข้อปฏิบัติในฉันเรียน
มีคอมพิวเตอร์สำหรับครูประจำ 1 เครื่อง
สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมทั้งหมดและวัฒนธรรมของฉันเรียนนั้นนั้นมีรูปแบบการสื่อสารการออกแบบจัดวางพื้นที่และความสามารถของครูในการบริหารจัดการฉันเรียน
สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
แง่มุมทางกายภาพ
แง่มุมทางจิตใจ
ฝึกหัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของห้องเรียน
รู้สึกสบายใจ
ชอบในการเรียน
ต้องสร้างทัศนคติ ผู้เรียน
ส่งเสริมความสัมพันธ์ในเชิงสร้างสรรค์ระหว่างครูผู้เรียน
หล่อเลี้ยงจิตใจของ
สภาพแวดล้อมเชิงกายภาพ
องค์ประกอบทางกายภาพ เช่น แสง เสียง พื้นที่เฟอร์นิเจอร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อความสบายของผู้เรียนในการเรียนรู้ดังนั้นห้องเรียนควรจัดให้เหมาะสมต้องกระตุ้น ประสาทสัมผัส การมองเห็น การได้ยิน เพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ในระดับมัธยม แม้ว่าจะต้องสลับสับเปลี่ยนคู่ตามวิชา แต่ครูจะต้องให้ความสำคัญต่อการจัดห้องเรียน เพราะห้องเรียนที่เป็นระเบียบเรียบร้อย จะทำให้เกิดบรรยากาศสบายน่าเรียน ทำให้ผู้เรียนจดจ่อกับการเรียนมากขึ้น
สภาพแวดล้อมเชิงจิตตภาพ
ห้องเรียนยังเป็นสถานที่ซึ่งผู้เรียนจะสามารถสร้างมิตรภาพและเรียนรู้ไปพร้อมกับเพื่อนๆ ได้ดังนั้น ห้องเรียนจึงเป็นสถานที่สำหรับการปฏิสัมพันธ์ โดยการพัฒนาทักษะด้านการเข้าสังคมส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง และสร้างบุคลิกลักษณะพิเศษประจำตัวให้แก่ผู้เรียนแต่ละคน
ห้องเรียนจะต้องมีบรรยากาศ
ผู้เรียนรู้สึก
ปลอดภัยและสบาย
ครูจะต้องสอดส่องดูแลการเข้าสังคมและการจัดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนในฉันเรียนด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องไม่ให้เกิดสถานการณ์ไม่ดี
การจับกลุ่มเป็นอันธพาล
การรีดไถเงิน
การรังแกกัน
ธรรมชาติของการทำงานในชั้นเรียน
ชั้นเรียนประกอบด้วยผู้เรียนที่มีภูมิหลังประสบการณ์และความคาดหวังที่แตกต่างกันครูจะต้องมีหน้าที่ในการตอบสนองทุกความแตกต่างเหล่านั้น Doyle (1986) ได้จำแนก 6 ลักษณะ
เป็นงานที่มีมิติหลากหลาย
อธิบายแนวความคิด
สาธิทักษะต่างๆ
ให้คำแนะนำ
แจ้งความก้าวหน้าของผู้เรียน
เป็นงานที่ต้องทำหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
ครูต้องหมั่นตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน
ค่อยตรวจสอบพฤติกรรม
ตรวสอบการเรียนการสอน
เป็นงานที่ต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ผู้เรียนกำลังทะเลาะกัน
ต้องพิจารณาแก้ไขสถานการณ์
เป็นงานที่ไม่สามารถคาดเดาได้
ผู้เรียนซึ่งมักเงียบ
มีการลุกขึ้นแสดงความคิดเห็น
ทำงานได้สำเร็จ
เป็นงานที่มีความเป็นสาธารณะ
ชั้นเรียนไม่มีความเป็นส่วนตัว ทุกคนสามารถเฝ้าดูพฤติกรรมของกันและกันได้ จะเป็นพฤติกรรมของครูหรือผู้เรียน
เป็นงานที่ต้องสั่งสมความทรงจำและประวัติที่ผ่านมา
รวบรวมประสบการณ์ในแง่บวก
รวบรวมประสบการณ์ในลบ
ผู้เรียนอาจจะจดจำว่าครูไม่เคยลงโทษตามที่คำขู่เลย ดังนั้นผู้เรียนจึงไม่เคารพเชื่อฟังหักครูเตือนว่าจะลงโทษในครั้งต่อๆไป
การบริหารจัดการฉันเรียนคืออะไร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1
ต้องบริหารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ต้องวิเคราะห์วัตถุประสงค์
จัดกิจกรรมกการเรียนรู้ที่เหมาะสม
นำกิจกรรมไปปฏิบัติและประเมินผล
ระดับที่ 2
ครูจะต้องจัดการพฤติกรรมของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนใส่ใจ
กระบวนการเรียนรู้
ทุกคนควรมีส่วนร่วม
ระดับที่ 3
ครูจะต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เชิญกายภาพและจิตตภาพ
เกิดภาพที่น่าทำงาน