Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการการให้คำปรึกษาทางสุขภาพ - Coggle Diagram
กระบวนการการให้คำปรึกษาทางสุขภาพ
การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
ให้การปรึกษาด้วยกิริยา ท่าทาง ให้เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน
ทักษะที่ใช้ในการสร้างสัมพันธภาพ
Greeting การทักทาย
Small Talk พูดในเรื่องทั่วไป
Attending การใส่ใจ
SOLER
S = นั่งแบบมุมฉาก
O = เปิดใจรับต่อผู้รับการปรึกษา
L = โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
E = สบสายตาแสดงความสนใจ
R = สบาย ๆ ไม่เคร่งเครียด
Opening เปิดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาได้พูดถึงปัญหา
เรื่องที่จะตกลงบริการ
ประเด็นที่จะพูดคุย
เวลาที่ใช้ประมาณ 30-50 นาที
บทบาทผู้ให้และผู้รับบริการ
ความลับ
ประโยชน์ที่จะได้รับ
ถ้าไม่ตกลงบริการจะเกิด
ผู้รับบริการไม่เข้าใจกระบวนการ
ผู้รับการปรึกษาขาดความร่วมมือ
ผู้รับการปรึกษาขาดการเรียนรู้
ผู้รับการปรึกษาไม่ทราบประโยชน์ของการปรึกษา
การช่วยเหลือไม่สัมฤทธิ์ผล
ผลที่เกิดจากการตกลงบริการ
ผู้ให้และผู้รับการปรึกษารู้ทิศทางการให้การปรึกษา
ผู้รับการปรึกษาเข้าใจกระบวนการ
ผู้รับการปรึกษามีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือ
ผู้รับการปรึกษาเห็นประโยชน์ของการให้การปรึกษา
ผูู้รับการปรึกษาเกิดความรู้ เข้าใจปัญหา
ทักษะการฟัง
ทักษะการฟัง
สิ่งที่ต้องสนใจในการฟัง
คำพูด น้ำเสียง
แววตา สีหน้า ท่าทาง
สิ่งที่ต้องได้ในการฟัง
เนื่อหาสาระ
อารมณ์ ความรู้สึก
ลักษณะการฟังที่ดี
มีสมาธิ
ตั้งใจฟัง
สนใจเรื่องราว
การแสดงออกว่าสนใจ
การตอบรับเรื่องที่ฟัง
LADDER = การฟังอย่างใส่ใจ
L = Look ประสานสายตา
A = Ask ถามในจุดที่สงสัย
D = Don't interrupt ไม่พูดแทรกหรือขัดจังหวะ
D = Don't Change The Subject ไม่เปลี่ยนเรื่อง
E = Emotion ใส่ใจในการแสดงออกทางอารมณ์ของผู้รับการปรึกษา
ทักษะการสังเกต
กิริยา ท่าทางและการแสดงอารมณ์
คำพูดและภาษาที่ใช้
ผลที่คากว่าจะได้รับ
แสดงความเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้รับบริการ
ทำให้ผู้รับการปรึกษาไว้วางใจ
เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการพูดในสิ่งที่เป็นประเด็นสำคัญ
ทักษะการเงียบ
การเงียบทางบวก
ให้ผู้รับการปรึกษาใช้ความคิด
ให้คิดว่าจะพูดเรื่องอะไรต่อไป
ให้เวลาผู้รับการปรึกษาได้ทบทวนความรู้สึก
ให้พักฟื้นจากความเหน็ดเหนื่อย
ให้ผู้รับการปรึกษาคิดว่าจะพูดเรื่องอะไร
รอให้ผู้รับการปรึกษาพูดอเะไรบางอย่าง
ให้ผู้รับการปรึกษาได้ทบทวนสิ่งที่ผู้ให้คำปรึกษาพูดไป
การเงียบทางลบ
สำหรับผู้ให้การปรึกษา
เงีบยเพราะไม่รู้จะพูดอะไร
ไม่รู้จะถามอะไร
สำหรับผู้รับการปรึกษา
ไม่สบายใจ อึดอัด
ไม่อยากพูดเรื่องของตนเอง
ผลที่เกิดจากการใช้ทักษะเงียบ
มีประโยชน์ถ้ามีจุดมุ่งหมาย
แสดงถึงความสนใจต่อผู้รับการปรึกษา
เป็นการเน้นความสนใจ
ให้กำลังใจผู้รับการปรึกษา
ทักษะการถาม
คำถามปิด
กำหนดทิศทางไว้แล้ว
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เพื่อให้เกิดการตัดสินใจ
ข้อจำกัด
ไม่ควรใช้คำถามปิดมาก
ไม่ใช้คำถามที่เป็นลักษณะคำถามนำ
คำถามเปิด
ไม่กำหนดขอบเขตการตอบ
หาข้อมูลในระดับลึก
ทราบข้อมูลเพิ่มขึ้น
รู้จักลำดับเหตุการณ์
กระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาให้มีส่วนร่วม
ทักษะการทวนความ
พูดในสิ่งที่ผู้รับการปรึกษาได้บอกเล่า
ทวนซ้ำทุกประการ
ทวนซ้ำแบบสรุปจับประเด็นสำคัญ
ผลที่ได้จากการทวนความ
จูงใจผู้รับการปรึกษาให้พูดต่อ
ตรวจสอบความเข้าใจของผู้รับการปรึกษา
ทำให้ผู้รับการปรึกษาชัดเจนในสิ่งที่พูดมากขึ้น
ทำให้ผู้รับการปรึกษาไม่เล่าซ้ำในสิ่งที่พูดมาแล้ว
ทักษะการสรุุปความ
รวบรวมประเด็นความคิดมาประมวลเป็นคำพูดสั้น ๆ
ต่อผู้ให้การปรึกษา
แสดงถึงความสนใจอย่างแท้จริง
ตรวจสอบความเข้าใจ
ทราบเรื่องราวที่ชัดเจน
ต่อผู้รับการปรึกษา
มีความมั่นใจ
ได้สำรวจความคิด
กระจ่างในปัญหา
กระตุ้นแนวทางแก้ไข
การจับและสะท้อนความคิด
ให้ผู้รับการปรึกษาเข้าใจอารมณ์ ปัญหาและยอมรับ
ผู้ให้การปรึกษามีการฟังอย่างตั้งใจ
ใช้คำตรงกับความรู้สึก
ใช้น้ำเสียงและท่าทางที่เหมาะสม
จับและสะท้อนความรู้สึกทันที
แสดงความรู้สึกให้ผู้รับการปรึกษารับรู้
ไม่ควรใช้คำว่า รู้สึก บ่อยเกินไป
การสะท้อนความรู้สึกอาจไม่ตรง
ผู้ให้การปรึกษาสะท้อนไม่ตรงจริง ๆ
ผู้รับการปรึกษาไม่ยอมรับความรู้สึกตนเอง
ไม่ควรลงท้ายประโยคด้วยคำว่า ใช่ไหมคะ
การสำรวจปัญหา ทำความเข้าใจปัญหาและสาเหตุความต้องการ
การสำรวจปัญหา
ภูมิหลังของผู้รับการปรึกษา
ความเป็นมาของผู้รับการปรึกษา
ลักษณะของปัญหา
ผลกระทบของปัญหา
การแกะรอย
รวบรวมข้อมูล
สรุปข้อมูล
ตรวจสอบข้อมูล
ค้นหาข้อมูล
ผลกระทบที่ได้จากการสำรวจข้อมูล
ได้ทบทวนสิ่งที่เกิดกับตนเอง
ได้ค้นพบศักยภาพของตนเอง
เกิดความไว้วางใจ
รู้จักตนเอง มองเห็นตนเอง
วิธีทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุและความต้องการ
ผสมผสานทักษะต่าง ๆ ได้แก่ การฟัง การทวนความ การถาม การสรุปความ การสะท้อนความรู้สึกและการเงียบ
สรุปประเด็น
ผลจากการทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุและความต้องการ
เชื่อมโยงปัญหาได้ถูกต้อง
ค้นพบสาเหตุของปัญหา
แรงจูงใจเปลี่ยนแปลง
พบปัญหาที่จะแก้ไข
เข้าใจความต้องการของตนเอง
มีแนวทางในการแก้ปัญหา
ผลที่เกิดกับผู้ให้การปรึกษา
มีทิศทางไม่เสียเวลาในการให้
มีแนวทางในการวางแผนแก้ปัญหาต่อไป
การแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนการวางแผนแก้ไขปัญหา
มีแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหา
กำหนดเป้าหมายได้
สำรวจทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา
พิจารณาทางเลือกที่พึงประสงค์
กำหนดแผนปฏิบัติโดยละเอียด
การผสมผสานทักษะการแก้ปัญหา
สำรวจทำความเข้าใจสาเหตุของปัญหา
ลำดับความสำคัญของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากของการแก้ปัญหา
ขนาดของปัญหา
กำหนดเป้าหมายชัดเจน
ความสอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริง
เป็นรูปธรรม
เป็นไปได้ตามความเป็นจริง
ช่วยให้มองเห็นทางเลือกที่เป็นไปได้
หาทางออกให้ได้มากที่สุด
เกิดความคิดกว้างขวางขึ้น
ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการวางแผนแก้ไขปัญหา
มีแรงจูงใจ
มีเป้าหมายที่ชัดเจน
ตัดสินใจเลือกทางออกที่เหมาะสม
มีแผนในการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม
ทักษะการให้ข้อมูล
ให้คำถามเปิดควบคู้กับการสำรวจ
ประเมินความรู้เดิมของผู้รับการปรึกษา
ให้ข้อมูลที่จำเป็นต้องนำไปใช้
ตรวจสอบความเข้าใจโดยการซักถาม
ทักษะการเสนอแนะ
ทราบแนวทางการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
วางแผนแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
เสนอแนะเพื่อให้พิจารณา
วิธีการให้ข้อเสนอแนะ
ใช้คำถามเปิด
สำรวจปฏิกิริยาโต้ตอบ
การให้กำลังใจ
สำรวจอารมณ์ ความคิด ความรู้สึก
จับและสะท้อนความรู้สึก
ค้นหาศักยภาพของผู้รับการปรึกษา
สนับสนุนศักยภาพหรือให้กำลังใจ
ผลที่ได้จากการใช้ทักษะการให้กำลังใจ
รู้ศักยภาพของผู้รับการปรึกษา
ผู้รับการปรึกษาเกิดแรงจูงใจ
ทักษะการพิจารณาทางเลือก
กรณีผู้รับการปรึกษาพอได้แนวทางแก้ปัญหาแล้ว
เมื่ออารมณ์ผู้รับการปรึกษาสงบลงแล้ว
เพื่อพิจารณาการแก้ปัญหาทีละด้าน
วิธีการใช้ทักษะการพิจารณาทางเลือก
พิจารณาทางเลือกที่ 1 โดยใช้คำถามเปิด
เสนอให้มีการตัดสินใจตามข้อดี-ข้อเสีย
แก้ปัญหาตามการตัดสินใจทางเลือกนั้น
ผลที่ได้จากการใช้ทักษะการพิจารณาทางเลือก
ได้ไตร่ตรองถึงวิธีการแก้ปัญหาของตน
ได้สำรวจวิธีแก้ปัฐหา
การยุติบริการ
ใช้เวลาตามที่ตกลงกันไว้ก่อนการให้บริการ
ถามในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนอาจคุยเพิ่มเติมเล็กน้อย
สรุปเนื้อหาในการพูดคุย
ถ้าผู้รับบริการเปิดประเด็นใหม่ชี้แจงให้มาครั้งต่อไป
นัดหมายการพบกันครั้งถัดไป
ลักษณะการยุติการให้บริการ
ลักษณะที่ 1
เผชิญและแก้ปัญหาได้
ปรับเปลี่ยนเจตคติ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ลักษณะที่ 2
CL พึ่งพิง CO สูง
CL ไม่พอใจ CO สูง
CO เกิด Counter Transference ไม่สามารถจัดการได้
ผู้รับการปรึกษาไม่ร่วมมือ
ไม่สามารถช่วยเหลือได้
มีปัญหาทางกฎหมาย