Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10 การควบคุม (Controlling) - Coggle Diagram
บทที่10 การควบคุม (Controlling)
วิธีกำหนดมาตรฐานการปฎิบัติงาน
1.Historial Standard
เป็นวิธีการอาศัยข้อมูลทางสิถิติในการปฎิบัติงานย้อนหลัง
2.Market Standard
เป็นวิธีการเปรียบเทียบผลการปฎิบัติงานของบุคคลหนึ่ง
3.Engeering Standard
เป็นวิธีการที่อาศัยหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์
4.Subjuctive Standard
เป็นวิธีการที่ผู้บังคับบัญชาสังเกตการปฎิบัติงาน
ขั้นตอนการควบคุม
1)การกำหนดขอบเขต
2)การกำหนดเป้าหมายเเละมาตรฐาน
3)การวัดผล/สังเกตการปฎิบัติงานจริง
4)การเปรียบเทียบผลการปฎิบัติงาน
5)การปรับปรุง เเก้ไขปัญหาให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
ความหมายของการควบคุม คือการตรวจสอบการปฎิบัติงานว่าเป็นไปตามเป้าหมาย
ขั้นตอนการกำหนดมาตรฐานการปฎิบัติงาน
1)เลือกงานหลักของเเต่ละตำเเหน่งมาทำการวิเคราะห์
2)พิจารณางานเงื่อนไข
3)ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
4)ชี้เเจงเเละทำความเข้าใจกับผู้ปฎิบัติงาน
5)การปรับปรุง เเก้ไขเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
6)พิจารณาปรับปรุง
มาตรฐานการปฎิบัติงาน
เนื่องจากมาตรฐานของงานบางประเภทจะออกมาในรูปเเบบปริมาณ ในขณะที่บางประเภทอาจจะออกมาในรูปของคุณภาพองค์การจึงจำเป็นต้องกำหนดมาตรฐาน การปฎิบัติงานให้เหมาะสม
ความสำคัญในการควบคุม
ทำให้งานนั้นเป็นไปตามเเผนเเละได้มาตรฐานที่กำหนดไว้
สามารถตรวจสอบวิธีการปฎิบัติงานได้เป็นไปตามเเผนหรือไม่
ทำให้สามารถตรวจสอบผลของการปฎิบัติงานว่าได้ดำเนินการไปถึงขั้นไหนเเล้ว
ทำให้ทราบถึงปัญหาเเละอุปสรรคในการดำเนินงานว่าเป็นอย่างไร
การสร้างองค์เเก่คุณภาพ
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภาวะผู่นำของผู้ยริหารองค์การที่จะต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจจริง (leadership commitment) ในการนำพาองค์การสู่องค์การเเห่งคุณภาพ
ประโยชน์ของมาตรฐานของการปฎิบัติงาน
ด้านประสิทธิภาพการปฎิบัติงาน
ด้านการปรับปรุงงาน
ด้านการสร้างเเรงจูงใจ
ด้านควบคุมงาน
ด้านประเมินผลการปฎิบัติงาน
เกณฑ์ของมาตรฐานการปฎิบัติงาน
ปฎิบัติงานเเละระยะเวลาที่ปฎิบัติ การกำหนดว่างานต้องมีปริมาณเท่าไหร่ เเละควรจะใช้เวลาปฎิบัติมากน้อยเพียงใดงานจึงจะเสร็จ
คุณภาพงาน เป็นการกำหนดว่่าผลงานที่ปฎิบัติได้นั้นควรมีคุณภาพดีมากน้อยเพียงใด
ลักษณะการเเสดงออกขณะปฎิบัติงาน การกำหนดลักษณะพฤติกรรมที่ต้องเเสดงออกไว้ในมาตรฐานการปฎิบัติงาน
คุณภาพ:เเนวความคิดพื้นฐานสำหรับกำหนดกลยุทธ์ เเนวความคิดในเรื่องของคุณภาพจึงเป็นเรื่องสำคัญในการกำหนดควบคู่ไปกับกลยุทธ์ขององค์การอยู่เสมอ
องค์การเเห่งคุณภาพ ให้ความสำคัญกับเรื่องคุณภาพ(quality) ถือว่าเป็นหลักการพื้นฐานสำหรับองค์การที่จะช่วยประกันความมั่นคงเเละความอยู่รอดขององค์กร
การสร้างความได้เปรียบในการเเข่งขันให้กับองค์กร
ประการเเรก เข้ามาของธุรกิจรายใหม่
ประการสอง อำนาจการต่อรองของผู้ขายปัจจัยการผลิตหรือคู่ค้า
ประการที่สาม อำนาจการต่อรองของผู้ซื้อ หรือลูกค้า
ประการที่สี่ สินค้าหรือบริการที่ทดเเทนกันได้
ประการที่สุดท้าย ความรุนเเรงของการเเข่งขันในธุรกิจเดียวกัน
ประโยชน์ของการควบคุม
สร้างความรู้สึกเชิงลบเเก่ผู้ปฎิบัติงาน
ป้องกันเเก้ไขปัญหาได้ทัน
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของงาน
ช่วยให้ผู้บริหารรู้จักผู้ปฎิบัติงานมากขึ้นในด้านความสามารถ