Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่าย ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่าย
ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน
วางแผนเป็นผู้ป่วยใน หรือกรณีไม่เร่งด่วน
รับแบบฉุกเฉิน เข้าพักรักษาโดยไม่ได้วางแผน รักษาที่แผนกฉุกเฉินก่อน
รับโดยตรง เข้ารักษาโดยไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน
นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยนอก
อยุ่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
เมื่อตรวจเสร็จแล้ว แพทย์อนุญาตให้หลับบ้านได้
หลักการส่งเสริมปรับตัวในโรงพยาบาล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆ
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ
การวางแผนพยาบาล โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และซักถามต่างๆ
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
มีความรู้และปฏิบัติตามกฏระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล
มีเครื่องใช้จำเป็นในการรักษาพยาบาล
ประเมินปัญหาและความต้องการได้ถูกต้อง
คลายวิตกกังวล มีความปลอดภัย ปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียง และห้องพักให้ผู้ป่วย
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่ หรือแบบบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์จำเป็นตามความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
เครื่องมือตรวจวัดสัญญาณชีพ น้ำหนัก ส่วนสูง
สมุดบันทึกรับใหม่ เครื่องใช้ส่วนตัว
ขั้นตอนการตอบรับผู้ป่วยใหม่
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
สร้างสัมพันธภาพ ตรวจสอบชื่อ นามสกุลผู้ป่วย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนำให้ผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง
วัดชีพจร อุณหภูมิ การหายใจ และความดันโลหิต
อธิบายกิจกรรมการรักษาที่จะให้ผู้ป่วย และให้ผู้ป่วยเซ็นยินยอมให้ทำการรักษา
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย ให้ความช่วยเหลือ หรือให้คำแนะนำ
เบิกอาหารให้เหมาะกับโรค ติดป้ายข้อมือ ติดป้ายหน้าเตียง และป้ายแจ้งชื่อ
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วย ลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่ จัดทำแฟ้มประวัติ
การรับแผนการรักษา
ถ่ายทอดการรักษา
อุปกรณ์
วิธีรับการรักษา
อ่านแบบแผนการรักษาทั้งเฉพาะวันและตลอดไปให้เข้าใจโดยตลอด
กรอกรายละเอียดแผนการรักษาในใบคำสั่งการรักษา
หากมีคำสั่งแผนการรักษาให้เขียนป้ายติดขวดสารละลายตามจำนวนที่แพทย์กำหนด
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภท
จำหน่ายเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
จำหน่ายโดยไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วย
จำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
จำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
จำหน่ายเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลยังสถานพยาบาลอื่น
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบต่อเนื่อง
เพื่อให้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติตัวอย่างถูกต้องตามทำขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
อุปกรณ์
รายงานของผู้ป่วยทั้งหมด สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผู้ป่วย บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด ใบสั่งยา
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ สำลี บัตรติดข้อมือศพ
ขั้นตอนการจำหน่าย
ให้กลับบ้าน
ตรวจแผนการรักษา แจ้งผู้ป่วยและและญาติ ให้ญาติไปซื้อยาตามใบสั่งยา
แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพร่างกายที่เป็นอยู่
ให้ใบนัดพร้อมบัตรประจำตัวของผู้ป่วย
นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วย พร้อมช่วยแต่งกาย
เตรียมรถเข็น หรือเปลตอนตามความสะดวกของผู้ป่วย ลบชื่อออกจากระดานรายชื่อ
เก็บอุปกรณ์ ทำความสะอาด เพื่อต้อนรับผู้ป่วยใหม่
ถึงแก่กรรม
ใช้มือลูบหนังตาผู้ป่วย พร้อมถอดอุปกรณ์ทุกชนิดในการรักษาออก
อาบน้ำ ใส่เสื้อผ้า จัดท่าให้เร็วที่สุด ใส่อวัยวะปลอม(ถ้ามี)
ผูกบัตรประจำตัวของโรงพยาบาล อีกข้างผูกบัตรติดข้อมือศพ ห่มผ้าคลุมหน้าอก เก็บเครื่องใช้
ภายหลังอย่างน้อย 2 ชม. ตามเจ้าหน้าที่มารับศพ รวบรวมรายงานลงสมุดจำหน่าย
บทบาทพยาบาลตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
T = Treatment
แนะนำผู้ป่วย / ญาติ แนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
H = Health
ให้ความรู้ในข้อจำกัดในการทำกิจกกรมให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย
M = Medication
ให้ความเกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทาน ชื่อยา ฤทธิ์ยา วิธีการใช้ ขนาด
จำนวนครั้ง ระยะเวลา ข้อควรระวัง ผลข้างเคียง ข้อห้าม การเก็บรักษา
D = Diet
ใช้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค
D = Diagnosis
ให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
O = Outpatient referral
ชี้แจงให้มาตรวจตามนัด และอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
ข้อบ่งชี้ และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis
อุณหภูมิร่างกายลดลง จนเท่าอุณหภูมิห้อง
Livor mortis
ผิวหนังเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ เกิดจากหลังตายประมาณ 5 ชม. และเกิดเต็มที่ หลังตาย 12 ชม. อยู่ตลอดจนเน่า
บอกเวลาตาย สาเหตุการตาย บอกสภาพเดิมของศพ
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกาย ประมาณ 2 - 4 ชม.
การพยาบาลหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนา
การพยาบาลหลังถึงแก่กรรม
การแต่งศพ
ดูแลศพให้เรียบร้อย พร้อมเคลื่อนย้ายศพ
วัตถุประสงค์
เตรียมศพให้สะอาด ดูแลจัดการตามกฏหมาย ดูแลจัดเก็บเครื่องใช้
ประสานงานกัหน่วยงาน เขียนบันทึกรายงานที่ถูกต้อง
ขั้นตอน
อธิบายญาติผู้ป่วย ล้างมือ เตรียมอุปกรณ์ จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม
เก็บอุปกรณ์การรักษาพยาบาลทุกชนิดออกจากศพ สวมถุงมือ หากมีอวัยวะปลอมให้ใส่ทันที
ถ้ามีแผลตกแต่งให้เรียบร้อย จัดท่าให้นอนหงานคล้ายนอนหลับ ปิดปากและตาให้สนิท
ใช้สำลีอุดอวัยวะที่มีสารคัดหลั่งไหลออกมา เช็ดตัว ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่ ผูกป้ายชื่อที่ข้อมือ
คลุมผ้าจากปลายเตียงถึงไหล่ ถอดถุงมือ ล้างมือ เช็ดให้แห้ง
ให้อยู่ในหอผู้ป่วย 2 ชม. จึงเคลื่อนพร้อมใบส่งศพ
ตามหลักประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
อิสลาม
ใช้น้ำผสมการบูรอาบ ใช้ผ้ากะพันสวมแทนเสื้อผ้า
จีน
ให้น้ำสมธูป ยอดทับทิม และใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพ
หลักปฏิบัติทางกฏหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำหลักต่างๆ มายื่นกับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
นำใบรายงานแพทย์ไปแจ้งเทศบาล หรือที่ว่าการเขตท้องถิ่น
เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชม.และขอใบมรณะบัตร
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผา
ในกรณีขอเคลื่นย้ายศพออกจากเขต หรือข้ามจังหวัด
ให้นำใบมรณะบัตรไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการอำเภอ
ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใดๆ ได้อีกต่อไป