Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค - Coggle Diagram
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค
รายได้ประชาชาติกับบริการทางสุขภาพ
ความหมายรายได้ประชาชาติ
รายได้หมายถึง ผลตอบแทนจากการผลิตสินค้าและบริการที่บุคคลได้รับ ไม่ว่าจะเป็นรูปของตัวเงินหรือสิ่งของ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ประชาชาติหมายถึง ประชากรหรือพลเมืองของประเทศนั้นๆ
บัญชีรายได้ประชาชาต
เริ่มเมื่อ ปี ค.ศ. 1930 โดย Simon Kuznets ชาวรัสเซีย
เป็นระบบบัญชีทางด้านเศรษฐกิจที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลก
แต่ละประเทศจะมีความคล้ายคลึงกัน เนื่องจากได้ยึดเอาแม่แบบมาจากระบบบัญชีประชาชาติของสหประชาชาติ
ประเภทของรายได้ประชาชาติ (National income)
. ผลิตภัณฑ์ในประเทศสุทธิ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาต
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ
. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
มูลค่าที่ระบบเศรษฐกิจทั้งหมดของประเทศสร้างขึ้นมาได้มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด
คิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศนั้น
ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได
ลักษณะของเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค
ช่วยในการวางแผนและกำหนด นโยบายให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
วิธีการวัดตัวแปรเศรษฐกิจมหาภาค ของระบบบริการสุขภาพ เช่น การบริโภค การผลิต การสะสมทุน และค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมดของประเทศ คือ บัญชีสุขภาพแห่งชาติ
ทำให้ทราบว่า ประเทศ ได้ใช้ทรัพยากรไปกับระบบสุขภาพเท่าไร มากหรือน้อยเกินไป เมื่อเปรียบเทียบกับสาขาเศรษฐกิจอื่นๆ ประเทศอื่น
ข้อแตกต่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค
เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) ศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม(Aggregate) เช่น ผลผลิตมวลรวม (Gross domestic product: GDP) การบริโภคมวลรวมรายได้ประชาชาติ การลงทุนมวลรวม การใช้จ่ายของรัฐบาล และการจ้างงาน
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในระดับหน่วยย่อย เช่น การกำหนดราคาของสินค้าแต่ละชนิด พฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้ผลิต
ลักษณะเศรษฐกิจที่พึงปรารถนา
อัตราการว่างงานต่ า
อัตราเงินเฟ้อต่ า
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ
มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
ผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจต่อบริการสุขภา
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ผลิตอย่างไร (How) พิจารณาว่าการผลิตสินค้าตามจำนวนที่ต้องการนั้น จะใช้สัดส่วนของปัจจัยการผลิตอย่างไร เช่นกำลังคน ต่อโรงพยาบาลจะเป็นสัดส่วนใดจึงจะเหมาะสม
ผลิตเพื่อใคร (For Whom) เมื่อผลิตสินค้าได้แล้ว จะจัดสรรสินค้าเหล่านี้ไปให้ใครบ้าง และจัดสรรด้วยวิธีการใด รัฐบาลจะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยหรือไม
ผลิตอะไร (What) พิจารณาว่าทรัพยากรที่มีนั้นจะเอามาผลิตอะไร จำนวนเท่าใด เพราะถ้านำมาใช้ผลิตสินค้าอย่างหนึ่งแล้วจะเสียโอกาสที่จะนำทรัพยากรนั้นมาใช้ผลิตสินค้าอีกชนิดหนึ่ง
ความหมายระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ (Economic system) คือ การจัดระเบียบโครงสร้าง และบทบาทขององค์กร เพื่อบรรลุถึงเป้าหมายทางเศรษฐกิจ คือ สนองความต้องการของประชาชน ภายใต้ความจำกัดของทรัพยากร
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี
นโยบายการเงินและการคลังกับบริการสุขภาพ
ความหมายการคลังด้านสุขภาพและสาธารณสุข
การคลังด้านสุขภาพ
การจัดการการเงินเพื่อให้เกิดสุขภาพที่ดีของประชาชน
การคลังด้านสาธารณสุข
ระบบการเงินการคลังที่สามารถท าให้เกิดระบบบริการที่ด
การจัดการคลังด้านสุขภาพและสาธารณสุข
ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2545
ประกันสุขภาพเอกชน
ระบบประกันสังคม
แหล่งการคลังด้านสุขภาพและสาธารณสุข
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงการคลัง
กระทรวงอื่นๆ
กระทรวงสาธารณสุข
องค์กรอิสระภาครัฐ
ส านักงานประกันสังคม
ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
รัฐวิสาหกิจ