Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CBL : ANC, การตรวจทางห้องปฏิบัติการ, Deceleration การเปลี่ยนแปลงอัตราการเต…
CBL : ANC
ไตรมาส 2
-
การฝากครรภ์ครั้งที่ 3
28 wks
- จาก Fundal symphysis height measurement โดยวัดระดับยอดมดลูก ที่สูงขึ้นมาจากขอบบนของรอยต่อกระดูกหัวหน่าว ถึงยอดมดลูกเป็นเซนติเมตร
กรณีศึกษา มีขนาดยอดมดลูก 26 ซม. เท่ากับอายุครรภ์ 26 สัปดาห์ +-2 ถือว่าตรงกับอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
- กรณีศึกษาฝากครรภ์ครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ระดับยอดมดลูก ¼ เหนือสะดือ
พบว่า ระดับยอดมดลูก กับอายุครรภ์ไม่สัมพันธ์กัน เนื่องจาก อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ควรมีระดับยอดมดลูกอยู่ที่ 2/4 เหนือสะดือ หรือ ระดับยอดมดลูก ¼ เหนือสะดือ ควรมีอายุครรภ์ที่ 24 สัปดาห์
-
-
-
ไตรมาส 3
-
การฝากครรภ์ครั้งที่ 4
34 wks
- Fundal symphysis height measurement โดยวัดระดับยอดมดลูก ที่สูงขึ้นมาจากขอบบนของรอยต่อกระดูกหัวหน่าว ถึงยอดมดลูกเป็นเซนติเมตร
กรณีศึกษา มีขนาดยอดมดลูก 30 ซม. เท่ากับอายุครรภ์ 30 สัปดาห์ +-2 ถือว่าไม่ตรงกับอายุครรภ์ 34 สัปดาห์
-
กรณีศึกษาฝากครรภ์ครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ ระดับยอดมดลูก 2/4 เหนือสะดือพบว่า ระดับยอดมดลูก กับอายุครรภ์ไม่สัมพันธ์กัน เนื่องจาก อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ควรมีระดับยอดมดลูกอยู่ที่ ¾ เหนือสะดือ หรือ ระดับยอดมดลูก 2/4 เหนือสะดือ ควรมีอายุครรภ์ที่ 28 สัปดาห์
-
-
-
-
- Deceleration การเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจที่ลดลง
- Variable deceleration คือการลดลงของ FHR อย่างฉับพลัน FHR จะลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm คงอยู่นานมากกว่าหรือเท่ากับ 15 วินาทีและไม่นานเกิน 2 นาที สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้การลดลงของ FHR จะใช้เวลาจากจุดเริ่มต้นถึงจุดต่ำสุดน้อยกว่า 30 วินาที
-
- Late deceleration คือการลดลงของ FHR อย่างช้าๆ สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก การลดลงของ FHR จะใช้เวลาจากจุดเริ่มต้นถึงจุดต่ำสุดมากกว่าหรือเท่ากับ 30 วินาที
การพยาบาล
4) ตรวจภายในเพื่อค้นหาภาวะสายสะดือย้อยและประเมินว่าปากมดลูกเปิดหมดหรือไม่หรือทารกกำลังจะคลอดภายในระยะเวลาอันรวดเร็วหรือไม่
1) จัดท่าให้มารดานอนตะแคงซ้ายเพื่อไม่ให้มดลูกกดทับเส้นเลือด Inferior venacava ทำให้เลือดไหลเวียนไปยังบริเวณรกได้ดีขึ้น
-
-
- Early deceleration คือการลดลงของ FHR อย่างช้าๆ สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก การลดลงของ FHR ใช้เวลาจากจุดเริ่มต้นถึงจุดต่ำสุดมากกว่าหรือเท่ากับ 30 วินาที
-
-
-
Tetanus Vaccine
-
- กรณีสตรีตั้งครรภ์เคยได้รับวัดชีนครบ 3 เข็มมาก่อนและยังอยู่ภายใน 10 ปีไม่ต้องฉีดกระตุ้น แต่ถ้ากิน 10 ปีให้ฉีดกระตุ้น (booster) 1 เข็มแนะนำฉีดช่วงไตรมาสที่ 2-3
3.กรณีสตรีตั้งครรภ์โดยได้รับวัคซีนมาก่อน 1 เข็มให้ฉีดเข็มที่ 2 วันแรกที่มาฝากครรภ์ และเข็มที่ 3 นัดอีก 1 เดือน
- กรณีสตรีตั้งครรภ์เคยได้รับวัคซีนมาก่อน 2 ให้ฉีดเข็มที่ 3 วันแรกที่มาฝาก
ทองทวี ศุภาคม, เตือนใจ เกิดแก้ว ,กิจจา เจียรวัฒนกนก ,และจิราวรรณ ดีเหลือ (2561) ได้ให้คำแนะนำแบบจำเพาะเจาะจง และรวบรวมวิธีการดูแลตัวเองเมื่อกลับบ้าน ดังนี้
-
- พฤติกรรมสุขภาพที่พึงปฏิบัติ โดยแนะนำให้รับประทานอาหารเช้าก่อน 08.00 น. พักและหยุดการเคลื่อนไหวโดยการนั่งนิ่ง หรือตะแคงเป็นเวลา 1 ชม. หลังอาหารเช้า หลังอาหารกลางวัน และหลังอาหารเย็น ลดชั่วโมงการทำงานเหลือไม่เกิน 9 ชั่วโมงต่อวัน เริ่มนอนหลับก่อน 22.00 น. เลี่ยงการทำงานนอกเวลา นอนตะแคงในช่วงหลับ หรือช่วงพักเวลากลางวัน
- คำแนะนำด้านโภชนาการ โดยเน้นให้รับประทานไข่ มื้อละ 1 ฟอง หรือ 3 ฟองต่อวัน ทุกวันต่อเนื่องจนถึงคลอด รับประทานเนื้อสัตว์ หรืออาหารที่มีโปรตีนจากพืช มื้อละอย่างน้อย 50 กรัม ดื่มนมพาสเจอไรซ์หรือนมกล่อง หรือเครื่องดื่มธัญพืชวันบะ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 180-220 วีซี ระหว่างมื้ออาหาร เลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การไม่รับประทานอาหารเช้า การนอนดึก เป็นต้น
ภาวะซีด
Thalassemia
-
ตรวจ hemoglobin E ด้วยน้ำยา DCIP (dichlorophenolindophenal precipitation test) DCIP Positive แปลผลว่า มี Hb E
-
-
-
-
DM
ฮอร์โมนอินซูลินที่ตับอ่อนผลิตได้ไม่เพียงพอหรือไม่สามารถผลิตได้ ระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงขึ้นกว่าเกณฑ์ปกติ และไตไม่สามารถกรองน้ำตาลส่วนเกินกลับเข้าสู่เลือด น้ำตาลออกมาจากปัสสาวะ
-
Heart disease
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น ไอเป็นเลือด เป็นลมหมดสติเมื่อออกแรง หรือตรวจพบ ภาวะบวม diastolic murmur continuous murmur systolic murmur ตั้งแต่ grade 3 ขึ้นไป จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ หรือ clubbing
-
Hyperthyroidism
โรคไทรอยด์ที่มีระดับการทำงานของต่อมไทรอยด์มากเกินไป ระดับฮอร์โมนไทรอยด์ในเลือดสูงเกินไป มีการทำงานของเซลล์ในร่างกายเร็วกว่าปกติ
-
กิจกรรมการพยาบาล
- จัดให้สตรีนอนตะแคงซ้าย เพื่อให้เลือดไหลกลับไปที่หัวใจ และเพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ ไปเลี้ยงมดลูกมากขึ้น เนื่องจากท่านอนตะแคงซ้ายไม่กดทับ Inferior vena cava และ descending aorta
- ถ้าสตรีตั้งครรภ์ เคยมีประวัติความดันโลหิตต่ำ ควรแนะนำท่านอนที่เหมาะสม คือท่านอนตะแคงซ้าย หรือท่ามีอาการหน้ามืด เป็นลม ให้นอนตะแคงและศีรษะต่ำ
- ในห้องเรียนที่สอนการเตรียมตัวตั้งครรภ์ ควรสอนและแนะนำท่าการพักผ่อนที่ถูกต้อง
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
- ถ้ามีอาการหน้ามืด ให้นอนตะแคง หรือให้ศีรษะต่ำกว่าปลายเท้าเล็กน้อย
- ถ้าต้องนั่ง หรือยืนนานๆ ให้มีการเคลื่อนไหวที่ปลายเท้า
- จัดให้นอนราบทันที คลายผ้าหลวมๆ
- ให้ดื่มน้ำวันละ 8 แก้ว เพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน้ำ
-
-
ข้อบงชี้
1 VRDL reactive ซึ่งเเปลผลว่า เป็นซิฟิลิส ซึ่งเป็นโรคติดต่อโดยสามารถผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ ผ่านทางช่องคลอด ทวารหนัก หรือการมีเพศสัมพันธ์ทางปาก เเละเชื้อซิฟิลิสสามารถติดต่อจากแม่สู่ทารกได้ จะทำให้ที่เกิดออกมาเป็นโรคซิฟิลิสจากการได้รับเชื้อที่ผ่านออกมาทางช่องคลอดตอนคลอด
-
กิจกรรมการพยาบาล
- เมื่อรู้สึกเหนื่อยล้า ให้พักผ่อนหรือนอนหลับในช่วงเวลาสั้นๆ ตอนกลางวัน
- หลีกเลี่ยงความครียดโดยใช้เทคนิคผ่อนคลาย เช่น การหายใจ (breathing relaxation) นั่งสมาธิ (Meditation) หรือฟังเพลง (sound)
- เข้านอนเร็วขึ้น และนอนในท่าตะแคงซ้าย (Sim's position) โดยใช้หมอนเล็กๆ หนุนที่บริเวณท้อง และระหว่างขาทั้งสองข้าง เพื่อให้น้ำหนักทารกทับลงบนเตียง
- สตรีตั้งครรภ์ที่ทำงานนอกบ้านควรหาเวลานั่งพัก ยกเท้าสูงในช่วงเวลากลางวัน สำหรับงานบ้าน อาจให้สามีหรือญาติแบ่งเบาภาระ
- สตรีตั้งครรภ์ที่นั่งทำงานอยู่กับที่ และไม่ค่อยได้ทำกิจกรรม ควรออกกำลังกายโดยการเดิน เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดบริเวณส่วนปลายของร่างกาย
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุของการปัสสาวะบ่อย เนื่องจากเป็นภาวะปกติที่เกิดขึ้นได้กับสตรีตั้งครรภ์ทุกคน
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีดเฟอื่น เช่น กาแฟ ซา น้ำอัดลม
-ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อระบบปัสสาวะ
- ควรดื่มน้ำให้น้อยลงในช่วงกลางคืนก่อนเข้านอน แต่ไม่ควรงดดื่มน้ำ ควรดื่มน้ำ 8 แก้วเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
- ถ้าสตรีตั้งครรภ์ปัสสาวะเล็ดหรือกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (stress incontinence) ควรแนะนำการบริหารช่องคลอด โดยการขมิบกล้ามเนื้อรอบช่องคลอด (Kegel exercise) ฝึกขมิบทำได้โดยหายใจเข้าลึกๆ และขมิบไว้นาน 5 วินาที หรือนับเลข 1-5 จากนั้นหายใจออกพร้อมกับคลายกล้ามเนื้อนาน 5 วินาที หรือนับเลข 1-5 การขมิบ 1 ครั้ง และคลาย 1 นับเป็น 1 เที่ยว ให้ทำเป็นชุด ชุดละ 30 เที่ยว
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายขั้นตอนการ Ultrasound
- บอกสตรีตั้งครรภ์ทุกครั้งว่าจะทำหัตถการอะไรบ้าง
- ตอบคำถามแก่สตรีตั้งครรภ์ และครอบครัว เกี่ยวกับความกลัวต่อสิ่งต่างๆ ด้วยความจริงใจ และมีเหตุผล เพื่อคลายความวิตกกังวล
- เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก พูดคุย ซักถาม และรับฟังอย่างตั้งใจ
-
-
-
-
พบว่ามีการเปลี่ยนเเปลงทางด้านจิตใจไม่เหมาะสม เนื่องจากในไตรมาสที่ 2 จะต้องยอมรับการตั้งครรภ์ เเละมีพฤติกรรมที่รักเเละดูเเลเอาใจใส่ตัวเองเเละทารก
การพยาบาล
-
2 ให้คำเเนะนำเเละการดูเเลเเก่หญิงตั้งครรภ์ทั้งในด้านการ
เปลี่ยนเเปลงร่างกาย จิตใจเเละทารกในระยะตั้งครรภ์
-
- Baseline fetal heart rate ค่าปกติ 110-160 ครั้ง / นาที
-
- Fetal bradycardia ต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีเป็นระยะเวลา 10 นาทีหรือมากกว่า
-
- Fetal tachycardia มากกว่า 160 ครั้งต่อนาที เป็นระยะเวลา 10 นาทีหรือมากกว่า
-
- Acceleration จุดสูงสุดต้องมากกว่า 15 ครั้ง / นาที และมีช่วงเวลาในการเกิดมากกว่า 15 วินาที แต่ไม่เกิน 2 นาที
-
-