Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สำคัญของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
การหมุนเวียนของเลือดเพิ่มจขึ้น
เพิ่มหน้าที่การกรองของไต
ให้ระดับ creatinine และ BUN ในเลือด
ลดต่ำลง
ชนิดของการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต
มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอว
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว
โปรตีนในเลือดต่ำ
ไขมันในเลือดสูง
มีอาการบวมโดยไม่ทราบสาเหต
พบโปรตีนในปัสสาวะ
มากประมาณ 5 กรัมต่อวัน
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ
ภาวะไตวาย
ไตวายเรื้อรัง
DM, SLE,
glomerulonephritis
ไตวายเฉียบพลัน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ
ไม่ได้กรับการรักษาจะพัฒนาเป็น
กรวยไตอักเสบ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
ปัจจัยส่งเสริม คือ การ
เพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ
อาการและอาการแสดง
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะบ่อย
อาจพบปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ำล้างเนื้อ
ปวดบริเวณหัวหน่าว
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน
คลื่นไส้อาเจียน
อาการของการติดเชื้อในกระแสเลือด
มีไข้ หนาวสั่น
หากไม่ได้รับการรักษาอาจช็อกและเสียชีวิต
ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ
Premature labor
PROM
Abortion
Septic shock
Uterine contraction
ผลต่อทารก
น้ำหนักตัวน้อย
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบปัสสาวะขุ่น หรือพบปัสสาวะเป็นสีน้ำล้างเนื้อ
ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว
กดบริเวณ costovertebral angle จะปวดมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ urine analysis จะพบไข่ขาว
ตรวจ urine culture จะพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
การซักประวัติ
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
กรณีที่คลอดก่อนกำหนดเตรียม
อุปกรณ์ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิดให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ให้คำแนะนำเช่นเดียวกับคำแนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบาพบแพทย์
ื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว หรือ 2,000-3,000 มิลลิลิตร และไม่กลั้นปัสสาวะ
กรณีที่ต้องรับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย
สังเกตและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
การมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อน แผนการรักษาพยาบาล
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ทำการคัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น โดยตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ
แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
การรักษา
รายที่มีการติดเชื้อแบบ ASB จำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาทุกราย เพื่อป้องกันการเกิดupper UTI
รายที่มีการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะที่มีความไวต่อเชื้อและปลอดภัยต่อ
มารดาและทารกมากที่สุด