Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
การรับผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาในโรงพยาบาลขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการรักษาพยาบาลซึ่งจำแนกการผู้ป่วยรับใหม่ได้ออกเป็น 2 ประเภท
ผู้ป่วยใน (Inpatient) ระยะเวลาของการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลมากกว่า24 ชั่วโมง
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent) หรือเป็นผู้ป่วยในตามปกติ เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
การรับ แ บ บ ฉุก เ ฉิน ( Emergency admission) เ ป็น ก า ร น อ น พัก รัก ษ าในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
การรับโดยตรง (Direct admission) เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน อาจตรวจที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยนอก (Outpatient) ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รวมถึงข้อระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของโรงพยาบาล
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การพยากรณ์โรค และการรักษา
ประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย พยาบาลควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล
การคานึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตาม ความเหมาะสม ซึ่งการเรียกผู้ป่วยควรเรียกชื่อ
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านนิสัยและการแสดงพฤติกรรม ตลอดจนความเชื่อที่เป็นของตนเอง
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ โดยวางแผนการพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์ เพื่อให้
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคม ได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือใน การรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การเตรียมอุปกรณ์ เมื่อได้รับแจ้งจากแผนกผู้ป่วยนอกในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาไว้ในโรงพยาบาล พยาบาลควรดาเนินการดังนี้
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย การที่เตรียมเตียงหรือห้องไม่พร้อมจะทาให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้สึกไม่อยากนอนพักรักษาในสถานที่นั้น
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล เอกสารหรือแบบบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์ที่จาเป็นตามความเหมาะสมสาหรับผู้ป่วยแต่ละราย
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
การจาหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
การจาหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
การจาหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ ในกรณีผู้ป่วยหนีกลับจะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อทาการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในฟอร์มใบบันทึกทางการพยาบาล
การจาหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม ผู้ช่วยพยาบาลจะต้องให้ความช่วยเหลือ ในการให้ข้อมูล
การจาหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
การจำหน่ายผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
พื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน และการจาหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรมมีขั้นตอนดังนี้
การจาหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
การวางแผนจาหน่าย (Discharge planning) เป็นการวางแผนและจัดสรรบริการในการ ดูแลรักษาผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลต่อเนื่องหลังการจำหน่ายอย่างเป็นระบบ องค์รวม
การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuing care) เป็นกระบวนการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยภายหลังการจาหน่าย โดยความร่วมมือระหว่างทีมสุขภาพ ผู้ป่วย ครอบครัว และผู้ดูแล
วางแผนการจาหน่ายแบบ D-METHOD มีรายละเอียดดังนี้
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ชื่อยา ฤทธิ์ของยา วิธีการใช้ ขนาด จานวนครั้ง
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสาคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม
T = Treatment แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนาให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง เนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทำงาน
11.6.2 Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้าๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย
Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม เพื่อเป็นการเตรียมผู้ตายก่อนญาติเข้าไปดูศพ พยาบาลจะต้องเก็บอุปกรณ์การรักษาทุกชนิดออกจากศพ และทำการแต่งศพให้เรียบร้อย
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วยการปฏิบัติตามหลักศาสนาและประเพณีภายหลังถึงแก่กรรม คือ การอาบน้าแต่งตัวศพหลังจากตายแล้ว
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาลถ้าผู้ป่วยถึงแก่กรรมภายหลังที่รับเข้ารักษาในโรงพยาบาล กรณีที่เป็นอุบัติเหตุ ฆาตกรรม ให้แจ้งนิติเวช เพื่อหาสาเหตุการตาย