Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
10.1 ความสาคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ในภาวะปกติอุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้าประมาณร้อยละ 70-80 ส่วนที่เป็นของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย โดยส่วนใหญ่สารอาหารและสิ่งที่มีคุณค่าจากอาหาร
โดยทั่วไปความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระมักเกิดขึ้นเมื่อตื่นนอนหรือหลังมื้ออาหาร ทั้งนี้เป็นเพราะการตื่นนอนและการลุกขึ้นเดินทาให้ลาไส้มีการเคลื่อนตัวของลาไส้เพิ่มขึ้น
10.2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
10.2.2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake) อาหารจาพวกพืชผัก ผลไม้ ที่
มีกากใยมาก เช่น คะน้า กระเฉด มะละกอ ลูกพรุน เป็นต้น
10.2.3 ปริมาณน้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake) น้าจะเป็นตัวสาคัญที่ทาให้
อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทาให้อุจจาระอ่อนตัว
10.2.1 อายุ (Age) ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุ
10.2.4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทาให้การทางานของลาไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
10.2. 5 อารมณ์ (Emotion) เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลง เช่น หงุดหงิด หรือวิตก กังวล เป็นต้น
10.2.6 ความสม่าเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits ) การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจาวัน การรับประทานอาหาร น้า รวมทั้งการออกกาลังกาย และการพักผ่อน
10.2.7 ความเหมาะสม (Opportunity) สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่ายสถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้าไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ
10.2.9 ยา (Medication) อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดินอาหารอาจทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ เช่น ยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้า เป็นต้น
10.2.10 การตั้งครรภ์ (Pregnancy) เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย ทาให้จะไปเบียดกดลาไส้ส่วนปลาย
10.2.11 อาการปวด (Pain) โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลาไส้ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery)
10.2.12 การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia) การดมยาสลบชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง
10.2.13 การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test) การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทางานของลาไส้ชั่วคราว
10.3 ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
แสดงลักษณะของอุจจาระปกติ ผิดปกติและสาเหตุ
แสดง Bristol Stool Form Scale
10.4 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
10.4.2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
10.4.3 ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
10.4.4 การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
10.4.1 ภาวะท้องผูก (Constipation)
10.4.5 ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
10.4.6 การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
10.5 การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
2) เตรียมตรวจทางรังสี
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
5) เพื่อการรักษา เช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ปุวย
10.5.2 ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด
10.5.2.1 Cleansing enema เป็นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลาไส้ โดยการทาให้เกิดการระคายเคืองของ Colon หรือ Rectum
10.5.2.2 Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ายาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml. ที่นิยมใช้
10.6 ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
การสวนอุจจาระเป็นการใส่สายสวนและสารละลายเข้าสู่ร่างกาย เพื่อความปลอดภัยของการสวนอุจจาระมีข้อควรระวังในการสวนอุจจาระ
1) อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
2.1 เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
2.2 เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
2.3 เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
2.4 ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
3) ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า (Sim’s position)
ให้เข่าขวา งอขึ้นมาก ๆ ถ้าผู้ปุวยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้ อาจจัดให้นอนหงาย แต่ไม่ควรให้อยู่แต่ยังอยู่ในท่านั่ง
4) แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
5) การปล่อยน้า เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาที เพื่อให้ผู้ปุวยเก็บน้าได้หมด
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย
7) การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
8) ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลาไส้
9) ระยะเวลาที่สารน้ากักเก็บอยู่ในลาไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้าเข้าไปในลาไส้ใหญ่จนผู้ปุวยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ปุวยหายใจทางปากยาว ๆ
10) การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ จากสาเหตุที่ผู้ปุวยเบ่ง ควรบอกให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจเข้ายาว ๆ แต่หากเกิดจากปลายหัวสวนติดผนังลาไส้
10.7 การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
10.7.1 ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stool
examination)
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ เช่น ผู้ปุวยมะเร็งลาไส้ ผู้ปุวยมีพยาธิปากขอ เป็นต้น
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนาไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
10.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)