Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสาคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ในภาวะปกติอุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้าประมาณร้อยละ 70-80 ส่วนที่เป็นของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
โดยส่วนใหญ่สารอาหารและสิ่งที่มีคุณค่าจากอาหาร จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางลาไส้เล็กก่อนที่อาหารจะเดินทางเข้าสู่ลาไส้ใหญ่
การขับถ่ายอุจจาระจึงเป็นสิ่งสาคัญ เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทาให้เกิดสารพิษ และของเสียที่ตกค้างอยู่ในลาไส้ ยิ่งถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้น ย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age) ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake) อาหารจาพวกพืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมาก
ปริมาณน้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake) น้าจะเป็นตัวสาคัญที่ทาให้
อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของ
ร่างกาย จะช่วยทาให้การทางานของลาไส้เป็นไปอย่างปกติ
อารมณ์ (Emotion) เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลง เช่น หงุดหงิด หรือวิตกกังวล
ความสม่าเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits ) การเปลี่ยนแปลง
เกี่ยวกับกิจวัตรประจาวัน การรับประทานอาหาร น้า
ความเหมาะสม (Opportunity) สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย
สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้าไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ
ยา (Medication) อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน
อาหารอาจทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
การตั้งครรภ์ (Pregnancy) เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมด
ลงก็ขยายตัวโตด้วย ทาให้จะไปเบียดกดลาไส้ส่วนปลาย
อาการปวด (Pain) โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลาไส้ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery) เมื่อมีอาการปวดถ่ายอุจจาระผู้ปุวยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทาให้อั้นอุจจาระไว้
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia) การดมยาสลบ
ชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia) การดมยาสลบ
ชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test) การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบ
ทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทางานของลาไส้ชั่วคราว ซึ่งมีความจาเป็นต้องทาให้ลาไส้สะอาดผู้ปุวยต้องได้รับ การงดน้าและอาหาร (NPO) หรือรับประทานอาหารเหลวใส (Clear liquid)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
ภาวะท้องผูกหรืออาการท้องผูก หมายถึง การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาลาบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ โดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการ
รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ อาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
สาเหตุ อาการเริ่มแรก คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระ
เป็นน้าเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในลาไส้ ทาให้เกิดอาการต่าง ๆ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ ทาให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางร่างกาย มักเกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนัก
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านร่างกาย
ผลด้านจิตใจ
ผลด้านสังคม
ผลด้านจิตวิญญาณ
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
ภาวะท้องเสีย หรืออุจจาระร่วง หมายถึง การเพิ่มจานวนครั้งของการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระเป็นน้าเหลว
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การผ่าตัดเอาลาไส้มาเปิดออกทางหน้าท้อง เพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ มักทาในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ลำไส้
จำแนกออกเป็น 2 ชนิด
Colostomy เป็นทวารหนักชนิดลาไส้ใหญ่ ลาไส้ที่นามาเปิดออกหน้าท้องมีตำแหน่งต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของโรคและวัตถุประสงค์ของการทำผ่าตัด
Ascending colostomy นาส่วนต้นของลาไส้ใหญ่มาเปิดออก
Transverse colostomy (Loop colostomy) นาส่วนขวางของลาไส้ใหญ่มาเปิดออก
Sigmoid colostomy (End colostomy) นำส่วนปลายของลำไส้ใหญ่มา
เปิดออก
Ileostomy เป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก ลาไส้ที่นามาเปิดออกจะเป็นส่วนปลายของลำไส้เล็ก (Ileum)
การพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลเฉพาะทางในการดูแลผู้ปุวยที่มีออสโตมีและควบคุมการขับถ่ายไม่ได้ เรียกว่า Enterostomal Therapy เรียกย่อ ๆ ว่า ET nurse
การสวนอุจจาระ
การสวนอุจจาระ (Enema) เป็นกิจกรรมทางการพยาบาลซึ่งเป็นบทบาทกึ่งอิสระ ที่มีการใส่สารอาจจะเป็นน้า น้ามัน หรือสารเคมีเข้าไปในลาไส้ใหญ่ส่วนล่างโดยผ่านทางทวารหนัก
วัตถุประสงค์
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เพื่อการรักษา เช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ป่วย
ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
Cleansing enema เป็นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้าสะอาดเข้าในลาไส้ ไม่นิยมใช้ ในผู้ป่วยที่มีภาวะอิเล็กโตรไลต์ไม่สมดุล
Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้าสบู่ผสมน้า ใช้น้าสบู่เข้มข้น 15 ml. ในน้า 1,000 ml. แต่โดยทั่วไปมักผสมกับน้าจนเป็นสีน้ำซาวข้าว
Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ปุวยเด็ก ผู้ป่วยที่มีลำไส้อักเสบ
Fleet enema เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ายาสาเร็จรูปคือสารละลาย
Hypotonic บรรจุในขวดพลาสติก ลักษณะของขวดมีหัวสวนอยู่ในตัว
Oil enema เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ามันพืช นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีอุจจาระอุดตัน ให้ผลหลังสวนประมาณ 30 นาที
Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ายาเข้าไปเก็บไว้ในลาไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml. ที่นิยมใช้มีดังนี้
Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ามัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นให้ลาไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกายทางทวารหนัก
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
การสวนอุจจาระเป็นการใส่สายสวนและสารละลายเข้าสู่ร่างกาย เพื่อความปลอดภัยของการสวนอุจจาระมีข้อควรระวังในการสวนอุจจาระ ได้แก่
อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า (Sim’s position)
ให้เข่าขวา งอขึ้นมาก ๆ ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้
แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การปล่อยน้า เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาที เพื่อให้ผู้ปุวยเก็บน้าได้หมด
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลาไส้
ระยะเวลาที่สารน้ากักเก็บอยู่ในลาไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้าเข้าไปในลาไส้ใหญ่จนผู้ปุวยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ป่วยหายใจทางปากยาว ๆ
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ จากสาเหตุที่ผู้ปุวยเบ่ง ควรบอกให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจเข้ายาว ๆ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stoolexamination)
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนำไปเพาะเชื้อ