Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติที่ใช้ในงานระบาดวิทยา - Coggle Diagram
สถิติที่ใช้ในงานระบาดวิทยา
เทคนิคการสุ่มเเละ
การพิจารณาขนาดตัวอย่าง
เทคนิคการสุ่ม
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
(Cluster sampling)
กลุ่มต่างกันมีลักษณะที่คล้ายกัน
ตรงข้ากับการเเบ่งกลุ่มเเบบเเบ่งชั้นภูมิ
กลุ่มเดียวกันมีลักษณะที่เเตกต่างกัน
โดยมากเเบ่งโดยใช้พื้นที่ เช่นหมู่บ้าน
สุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มย่อยๆ
การสุ่มตัวอย่างเเบบหลายชั้น
(Multistage cluster sampling)
ขยายมาจากการสุ่มตัวอย่างเเบบกลุ่ม
แบ่งประชากรเป็นกลุ่มย่อย
กลุ่มเดียวกันมีลักษณะต่างกัน
ต่างกลุ่มมีลักษณะคล้ายกัน
สุ่มตัวอย่างแบบชั้นเดียวจากกลุ่มที่มีระดับใหญ่สุด
จากนั้นสุ่มตัวอย่างย่อยลงไปเรื่อยๆ
การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
(Stratified sampling)
จัดเเบ่งประชากรเป็นกลุ่มตามลักษณะ
ชั้นปี
คณะ
ให้กลุ่มชั้นภูมิเดียวกันคล้ายกัน
ต่างกันกับประชากรที่อยู่ต่างชั้นภูมิ
สุ่มเลือกเเต่ละชั้นภูมิด้วยการสุ่มอย่างหยาบหรือ ระบบ
จำนวนอาจให้เท่ากันในเเต่ละชั้นภูมิหรือสัดส่วน
ข้อเสีย
ค่าใช้จ่ายสูง
ข้อดี
ได้ตัวเเทนจากกลุ่มย่อยทุกกลุ่ม
สามารถประมวลผลลักษณะที่ต้องการ
ค่าเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบน
การสุ่มตัวอย่างเเบบระบบ
(Systematic sampling)
ต้องการสุ่มนิสิต 22คน
จากทั้งหมด 88คน
กำหนดหมายเลขตั้งเเต่1-88
ช่วงการสุ่ม=88/22=4
สุ่มเลือกคนเเรกให้ค่าอยู่ระหว่าง1-4 สมมติได้เลข2
คนถัดไปคือ 2+4,2+(2x4),2+(3x4),...2+(21x4)ครบ22คน
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
(Simple random sampling)
ประชาการมีโอกาสได้รับเลือกเท่ากัน
ที่สะดวกคือ กำหนดเป้าหมายในกลุ่มประชากรที่จะสุ่ม
สุ่มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด
เลือกโดยใช้ตารางเลขสุ่มหรือ
จับสลากก็ได้
เช่น ต้องการสุ่มนิสิต 10คน จากทั้งหมด 88คน
กำหนดหมายเลขนิสิตตั้เเต่1-88
จับสลากให้ครบ 10หมายเลข
ใช้ตารางสุ่มเลือกให้ครบ 10หมายเลข
การพิจารณาขนาดตัวอย่าง
การศึกษาเชิงพรรณนา
การศึกษาเชิงวิเคราะห์เเละทดลอง
การวัดความเสี่ยงของการเกิดโรค
การวัดความสัมพันธ์
เป็นการวัดความสัมพันธ์ระหว่าง exposure และdisease
ยังสามารถระบุ effectหรืออิทธิพลของexposure
ที่มีต่อการเกิด disease
การวัดจะเป็นการทดสอบสมมติฐานสถิติที่ใช้ระเมิน
ความสัมพันธ์จะขึ้นกับรูปเเบบการศึกษา
ประเมินขนาดของความสัมพันธ์
ระหว่างปัจจัยเเละการเกิดโรค
วิเคราะห์ด้วยตาราง 2x2วัดขนาดความสัมพันธ์ด้วย RRหรือOR
ใช้สถิติ Chi-square ในการทดสอบว่าค่า
RRหรือ ORมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่
การวัดผลกระทบ
การคาดการณ์ผลของปัจจัยที่มีผลต่อ
การเกิดโรคของกลุ่มประชากรเป้าหมาย
มีประโยชน์ต่อการทำนายประสิทธิผลเเละประสิทธิภาพของการรักษา
ดัชนีที่ใช้วัดคือ Attributable risk
สัดส่วนของการเป็นโรคของกลุ่มที่สัมผัส
กับปัจจัยที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยที่สัมผัสจริง
Attributable risk fore the
Exposure Group
อัตราป่วยในกลุ่มผู้ที่สัมผัสกับ Exposure
Attributable risk fore the
Total Population
สัดส่วนของการเกิดโรคในกลุ่มประชากรทั้งหมดที่ลดลง
หากปัจจัยนั้นถูกกำจัดออกไป
ความถี่ของการเกิดโรค
อุบัติการณ์ของโรค (Incidence)
จำนวนผู้ป่วยใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด
โดยมากในเวลา 1ปี
Risk=จำนวนผู้ป่วยใหม่ในระยะเวลาที่กำหนด/
จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
Rate=จำนวนผู้ป่วยใหม่ในระยะเวลาที่กำหนด/
จำนวนประชากรxระยะเวลาที่เสี่ยง
ความชุกของโรค (Prevalence)
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดทั้งเก่าเเละใหม่
ในประชากรที่จุดเวลา
อัตราความชุก (rate)=จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่จุดเวลากำหนด/
จำนวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้นx100
อัตราความชุก (rate)=จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่จุดเวลากำหนด/
จำนวนประชากรทั้งหมดที่ช่วงเวลานั้นx100
สถิติที่ใช้ในงานระบาดวิทยา
สถิติเชิงพรรณนา
(Discriptive statistics)
ใช้ในการอธิบายลักษณะของกลุ่มตัวอย่างหรือข้อมูลทั่วไป
ของกลุ่มตัวอย่างด้วยค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจำนวนร้อยละ
สถิติเชิงอนุมาน
(Inferential statistics)
ใช้ในการประมาณค่าพารามิเตอร์ของประชากร