Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ, นางสาว อมลินใจเนตร์ รหัส6105101415 - Coggle…
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ระเบียบวิธีและระบบข้อมูล
การวิเคราะห์นโยบาย
1.ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การกำหนด
โครงสร้างของปัญหา
ประการที่สอง การทำนาย
ประการที่สาม การเสนอแนะ
ประการที่สี่ การกำกับนโยบาย
ประการสุดท้าย การประเมินผล
2.ระบบข้อมูลนโยบาย
ประการแรก ปัญหานโยบาย
ประการที่สอง อนาคตนโยบาย
ประการที่สาม การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ประการที่สี่ ผลลัพธ์นโยบาย
ประการที่ห้า ระดับความสำเร็จของนโยบาย
3.ความสัมพันธ์ระหว่างระเบียบ
วิธีการวิเคราะห์นโยบายและระบบข้อมูลนโยบาย
การวิเคราะห์นโยบายเชิงประจักษ์
1.อรรถประโยชน์ของการวิเคราะห์เส้นทาง
(Utility of Path Analysis)
2.ตัวแบบสาธิตการวิเคราะห์เส้นทาง
(Illustrative Model of Path Analysis)
1.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดอัตรา
กำลังพลตำรวจในเขตชุมชนเมืองของสหรัฐอเมริกา
2.การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ
ค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการในประเทศต่าง ๆ
องค์ประกอบของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
1.วัตถุประสงค์ องค์ประกอบเบื้องแรก
ของนักวิเคราะห์นโยบาย
2.ทางเลือก หมายถึง เงื่อนไข
หรือวิธีการที่เป็นไปได้
1.สาระสำคัญของทางเลือก
(desciption)
2.ประสิทธิผลของทางเลือก
(effectiveness)
3.ต้นทุน (cost)
4.ผลลัพธ์ที่ไม่คาดหมาย
(spillovers)
5.การจัดลำดับทางเลือก
(comment on ranking)
6.การพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ
(other considerations)
3.ผลกระทบ
4.เกณฑ์การวัด
5.ตัวแบบ หัวใจของ
การวิเคราะห์การตัดสินใจ
กลยุทธ์การวิเคราะห์นโยบาย
ในการวิเคราะห์นโยบายนั้น นักวิเคราะห์นโยบาย
เริ่มด้วยตรวจสอบคำถามพื้นฐาน 3 ประการคือ
ค่านิยม โดยการตรวจสอบปัญหาได้รับการแก้ไขหรือไม่โดย
พิจารณาว่าใครเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากการเเก้ไข
การกระทำ ขึ้นอยู่กับว่าใคร
เป็นผู้ยอมรับการกระทำซึ่งอาจส่งผลต่อ
ความสำเร็จ
และการแก้ไขปัญหาตาม
ค่านิยมของผู้ยอมรับการกระทำนั้น
ความจริง ขึ้นอยู่ว่าใครเป็นผู้ตรวจสอบอาจจำกัดหรือ
ขยายความ ขอบเขตความสำเร็จที่เกิดขึ้น
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่านิยมของผู้ตรวจสอบ ดังนั้นการค้นหาความจริงจึงต้อง พิจารณโดยรอบคอบ
ความหมายของการวิเคราะห์นโยบาย
1.Susan B. Hansen มุ่งเน้นการ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบชัดเจนต่อผลผลิตและผลกระทบ ของนโยบายที่มีต่อสังคม
2.Thomas R. Dye เป็นการวิเคราะห์ปัญหาของสังคมที่เป็น วิทยาศาสตร์และสอดคล้องกับความเป็นจริง
3.James E. Anderson วิเคราะห์เกี่ยวข้องกับ
การตรวจสอบและการพรรณนาสาเหตุและผลของนโยบาย
วิเคราะห์การก่อรูป (policy formation)
วิเคราะห์เนื้อหา (policy content)
วิเคราะห์ผลกระทบ(policy impact)
4.Edward S.Quadeวิเคราะห์ที่ใช้ข้อมูล เพื่อการปรับปรุง
หรือเพิ่มศักยภาพในการใช้ดุลพินิจของผู้ตัดสิ้น
5.Duncan MacRae Jr. วิเคราะห์
นโยบายเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์
ใช้เหตุผล
ใช้หลักฐานในการจำแนกประเมินผล
ใช้การวิเคราะห์ แนวทางแก้ไขปัญหาสาธารณะให้ชัดเจน
6.James S. Coleman มีทัศนะใกล้เคียงกับ MacRae
โดยเห็นว่าการวิเคราะห์นโยบายเป็น สังคมศาสตร์ประยุกต์
ในการแสวงหาข้อเท็จจริง
ใช้การถกเถียงเพื่อการกำหนดและ
แปลงเปลี่ยนนโยบายให้สอดคล้องกับข้อมูล
7.William N.Dunn เสนอระเบียบวิธีการ
วิเคราะห์นโยบายที่สาคัญ 5 ประการ
การทำนาย (forecasting)
การกำหนดโครงสร้างปัญหา
(problem structuring)
การเสนอแนะ (recommendation)
การกำกับนโยบาย (monitoring)
การประเมินผล (evaluation)
8.Norman Beckman วิเคราะห์นโยบายโดยจำแนก
ตามค่านิยมและความสนใจที่แตกต่างกันออกไป
1.การวิเคราะห์นโยบายเป็น
การบูรณาการและเป็นสหวิทยา
2.การวิเคราะห์นโยบายเป็นการคาดหมาย
การวิเคราะห์นโยบาย
เป็นการเน้นเรื่องการตัดสินใจ
4.การวิเคราะห์นโยบายที่มีประสิทธิผลเป็นเรื่อง
ของค่านิยมและการประเมินของ ผู้รับบริการ
9.Walter William เครื่องมือในการสังเคราะห์ ข้อมูล
ผลลัพธ์จากการวิจัยเพื่อนำมากำหนดรูปแบบการตัดสินใจ
ความสำคัญของการวิเคราะห์นโยบาย
คือ การเน้นถึงความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาและ
การแสดง ความรับผิดชอบต่อประชาชน
กระบวนการวิเคราะห์นโยบาย
1.แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
1.แนวทางเชิงประจักษ์ (empirical approach)
2.แนวทางเชิงประเมิน (valuative approach)
3.แนวทางเชิงปทัสถาน (normative approach)
2.กระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
1.วัฏจักรของกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การระบุปัญหานโยบาย
ประการที่สอง การกำหนดวัตถุประสงค์
ประการที่สาม การค้นหาและกำหนดทางเลือก
ประการที่สี่ การรวบรวมข้อมูลและข่าวสาร
ประการที่ห้า การสร้างและทดสอบตัวแบบ
ประการที่หก การตรวจสอบทางเลือกที่เหมาะสม
ประการที่เจ็ด การประเมินต้นทุนและประสิทธิผล
ประการที่แปด การแปลผลที่เกิดขึ้น
ประการที่เก้า การทบทวนฐานคติ
ประการที่สุดท้าย การกำหนดทางเลือกใหม่
2.ขั้นตอนการวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก การตัดสินใจที่จะกำหนดปัญหานโยบาย
ประการที่สอง การกลั่นกรองประเด็นนโยบาย
ประการที่สาม การนิยามประเด็นนโยบาย
ประการที่สี่ การพยากรณ์
ประการที่ห้า การกำหนดวัตถุประสงค์
และการจัดลำดับความสาคัญ
ประการที่หก การวิเคราะห์ทางเลือก
ประการที่เจ็ด การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ประการที่แปด การประเมินผลและการทบทวน
ประการสุดท้าย การดำรงรักษานโยบาย
นางสาว อมลินใจเนตร์ รหัส6105101415