Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ (hepatitis A virus: HAV)
เกิดจากการติดเชื้อ hepatitis A virus เชื้อติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อน ไวรัสจะผ่านกระเพาะไปยังลำไส้ กระจายเข้าสู่ตับทำให้ตับเกิดการอักเสบเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และปวดศีรษะ มีอาการตับเหลือง ตาเหลือง ตรวจพบ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น
แต่ไม่มีอาการของดีซ่าน
ผลกระทบ
ไม่มีผลทำให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว ดังนี้
2.1 พักผ่อนอย่างเพียงพอ
2.2 รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย และดื่มน้ำให้เพียงพอ
2.3 มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2ตรวจร่างกาย
3.Lab
antibody-HAV
IgM-anti HAV
ตรวจการทำงานของตับ
การป้องกันและการรักษา
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV ให้หายได้อย่างเด็ดขาด ส่วนใหญ่เป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี(Hepatitis B virus)
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus ผ่านทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก เมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่เซลล์ตับจะแบ่งตัวได้รวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรก ผู้ที่ได้รับเชื้อจะยังไม่มีอาการแสดง แต่หากตรวจเลือดจะ
พบ HBeAg ให้ผลบวก และพบ Hepatitis B virus DNA (viral load) จำนวนมาก
ระยะที่สอง ผู้ติดเชื้อจะมีอาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลืองตาเหลือง ตับ เริ่มมีการอักเสบชัดเจน
ระยะที่สาม anti-HBe ทำลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL (20,000 IU/mL) อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้น ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน และเข้าสู่ระยะโรคสงบ
ระยะที่สี่ เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase) ทำให้เกิดการอักเสบของตับขึ้นมาอีก
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกผู้ที่ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ แต่ถ้ามีอาการจะเริ่มด้วยมีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา คลำพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชาแก่ ในปลายสัปดาห์แรกจะเริ่มมีตาเหลืองตัวเหลือง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของ Hepatitis B virus แต่ไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบจะไม่เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด และทารกที่คลอดมามีโอกาสที่จะติดเชื้อได้
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
ตรวจการทำงานของตับ
ตรวจหา antigen
ตรวจหา antibody
HBsAg
Anti-Hbs
Anti-HBc
HBeAg
Anti-HBe
การป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg
กรณีได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus ให้การรักษาดังนี้
2.1 ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ งดการออกแรงทำงานหนัก หรือออกกำลังกาย
2.2 แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ไขมันสูง
2.3 แนะนำให้พาสมาชิกในครอบครัวและสามีมาตรวจเลือด
2.4 ต้องให้การรักษา ด้วยยา Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF)
2.5 หลีกเลี่ยงการทำหัตถการที่จะทำให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ
2.7 ทารกที่เกิดจากสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ Hepatitis B virus ควรได้รับการฉีด HBIG ให้เร็วที่สุด
2.6 พิจารณาให้คลอดทางช่องคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรอง
ให้คำแนะนำ
3.อธิบาย
4.แนะนำวิธีการป้องกัน
ระยะคลอด
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงและให้การดูแล
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอด
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุด
ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีด HBIG ให้เร็ว
ที่สุดหลังเกิด และให้ HBV 3 ครั้ง ให้ครั้งแรกภายใน 1 สัปดาห์แรกหลังคลอด หรืออาจให้พร้อม HBIG และให้ครั้งที่ 2 และ 3 เมื่ออายุครบ 1 และ 6 เดือน ตามลำดับ
ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
ระยะหลังคลอด
ไม่จำเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
แนะนำการปฏิบัติตัว
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีน
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
เกิดจากการติดเชื้อ rubella virus (german
measles virus) โดยติดต่อผ่านทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรภาพ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก ตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว และจะกลายเป็นพาหะของโรค
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก คือมีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลำตัวและแขนขา
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อน้ำเหลือง
บริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปวดข้อ
หลังจากนั้นจะมีผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดงมองเห็นเป็นปื้นหรือจุดกระจัดกระจายเริ่มขึ้นที่ใบหน้าจากนั้นจะแผ่กระจาย จนทั่วร่างกายอย่างรวดเร็ว
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา แต่อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้น
ต่อทารก
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว ได้แก่ ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง เกล็ดเลือดต่ำ ปอดบวม กระดูกบาง
ความผิดปกติถาวร ได้แก่ หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด (ต้อกระจก, ต้อหิน) สมองพิการ และปัญญา
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด แต่ปรากฏภายหลัง
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
HAI
IgM antibody
IgG antibody
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกัน
2.ภายหลังคลอดต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจ
การพยาบาล
ให้วัคซีน
ในสตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ และมารับการตรวจ
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน การสัมผัสโรค อาการและอาการแสดง
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถาม
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินของโรค ผลของโรคและการรักษา
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีน
สุกใส (Varicella-zoster virus: VZV)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชื่อ Varicella-zoster virus (HZV) สามารถติดต่อได้หลายทาง เช่น โดยการสัมผัสถูกตุ่มน้ำโดยตรง สัมผัสกับของใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ จากตุ่มน้ำของคนที่เป็นสุกใส หรือจากการสูดหายใจ
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ ในกรณีที่โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอด จะเรียกว่า congenital varicella syndrome
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ นำมาก่อนประมาณ 1-2 วันแล้วค่อยมีผื่นขึ้นลักษณะของผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตามไรผม หรือหลังก่อน เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ (dewdrops on a rose petal)
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ การติดเชื้อสุกอีใสในผู้ใหญ่มักจะมีอาการรุนแรงมากกว่าเด็ก โดยเฉพาะในสตรีตั้งครรภ์
ต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์ อาจทำให้ทารกเกิดความพิการก่อนกำเนิดได้
การติดเชื้อปริกำเนิด อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก และช่องทางคลอด โดยมีความเสี่ยงสูงในรายที่สตรีตั้งครรภ์ตมีการติดเชื้อสุกใส
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
ตรวจหาแอนติบอดี
IgM
IgG
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนำให้ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์ หลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์ 1 เดือนหลังได้รับวัคซีน
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
ให้การดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
กรณีที่มารดามีอาการ ให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5วันแรกหลังคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคใช้หลัก universal precaution
3.แนะนำการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง พักผ่อนเพียงพอ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันท
เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
การป้องกันและการรักษา
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค
การรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาแบบเจาะจง โดยการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
ประชากรส่วนใหญ่มักได้รับเชื้อ CMV ตั้งแต่วัยเด็ก หรือเมื่อสตรีตั้งครรภ์มีการติดเชื้อซ้ำ(reinfection) เชื้อไวรัสก็จะแพร่ไปสู่ทารกในครรภ์ได้
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อ CMV ติดต่อเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ทั้งทางตรงและทางอ้อม
อาการและอาการแสดง
mononucleosis syndrome คือ ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ ปอดบวม ตับอักเสบ และอาการทางสมอง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ มีการติดเชื้อซ้ำ หรือติดเชื้อใหม่ การดำเนินของโรครุนแรงขึ้น ทำให้เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด มีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ต่อทารก IUGR แท้ง fetal distress คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อย ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และตายคลอด
การประเมินและการการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
Atypical Lymphocytes
Amniocentesis for CMV DNA PCR
Plasma specimen for culture
4.ตรวจพิเศษ
U/S
การป้องกัน
วัคซีน
2.ควรวางแผนเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี
วิธีการหลักในการป้องกันคือการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล ล้างมือด้วยสบู่
การรักษา
การให้ immunoglobulin
การให้ยาต้านไวรัส เช่น Valtrex, Ganciclovil, Valavir
การประเมินอาการและอาการแสดง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.ซักประวัติ
อธิบายเกี่ยวกับโรค สาเหตุ อาการและอาการแสดง การดำเนินของโรค ผลกระทบ และแผนการรักษาพยาบาล
3.แนะนำและเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
ให้การดูแล เน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด เน้นย้ำเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
เกิดจากเชื้อโปรโตซัว Toxoplasma gondii มีพาหะหลักคือ แมวการติดต่อเกิดขึ้นได้โดยการรับประทานผัก หรือผลไม้ที่ปนเปื้อนดินที่มี ocyte ของเชื้อซึ่งขับออกมาปนกับอุจจาระแมว
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ ถ้ามีจะมีอาการน้อย คือ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ การแท้ง คลอดก่อนกำเนิด ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก ทารกติดเชื้อในครรภ์
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
ตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
ตรวจเลือดสายสะดือทารกหรือน้ำคร่ำ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การป้องกันและการรักษา
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทน
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา
แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ระยะคลอด
ให้การดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
2.เช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด เน้นเรื่องการรักษาความสะอาด การมาตรวจตามนัด การสังเกตอาการ
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส(Flavivirus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มักมีอาการไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ มักแสดงอาการมากในไตรมาสที่ 3 อาการที่พบบ่อยในคือ มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
ต่อทารก ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบ
ประสาท ตาและการมองเห็น ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า ทารกตายในครรภ์ และตายหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
RT-PCR
IgM
ELISA
4.ตรวจพิเศษ
U/S
การพยาบาล
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
การดูแลยึดหลัก universal precaution
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด ประเมินสภาพร่างกายทั่วไป
เน้นย้ำการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและ
วิตามินสูง
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์
(COVID-19 during Pregnancy)
เกิดจากเชื้อไวรัสตระกูล Corona SARS-CoV-2 การติดต่อส่วนใหญ่ผ่านทางสัมผัสละอองฝอยจากการไอ หรือจาม อาการของโรคคล้ายกับไข้หวัดใหญ่
อาการและอาการแสดง
มีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ ไอ น้ามูก เจ็บคอ
หายใจติดขัด หรือหายใจลำบาก
มีอาการและอาการแสดงของอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ห้การดำเนินของโรครุนแรงขึ้น เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
ตรวจเลือด
RT-PCR
ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
ส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
4.ตรวจพิเศษ
chest X-ray
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้ หรือผู้ที่เดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง
รักษาระยะห่าง social distancing
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะรับประทานอาหารและของใช้ส่วนตัว ร่วมกับผู้อื่น