Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม, วัฒนธรรมในการใช้ภาษาไทย - Coggle…
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ภาษาเป็นวัฒนธรรม
หน้าที่ของหลักภาษา
ใช้สื่อสารให้เกิดความเข้าใจกัน
ใช้ในการถ่ายทอดความคิดความรู้เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดความเจริญก้าวหน้า
ใช้ในการอบรมสั่งสอนเพื่อให้เป็นคนดีสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
เป็นเครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยสติปัญญา
สาขาของวัฒนธรรมทางภาษาตามหลักของยูเนสโก
สาขาคหกรรมศิลป์
สาขากีฬาและนันทนาการ
สาขาการช่างฝีมือ
สาขาศิลปะ
สาขามนุษยศาสตร์
ภาษาเป็นเครื่องบันทึกวัฒนธรรม
หน้าที่หลักของภาษา
ใช้เป็นเครื่องมือแสดงความคิดและเหตุผล
ใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้และความเพลิดเพลิน
ใช้เป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ใช้ภาษาเป็นตัวบันทึกเหตุการณ์ เรื่องราว และความคิดความเชื่อต่าง ๆ ของสังคมเอาไว้
วัฒนธรรมที่ไม่ได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
เพลงพื้นบ้าน
นิทานชาวบ้าน
เพลงกล่อมเด็ก
วัฒนธรรมที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
วรรณคดี
จดหมายเหตุ
ตำนาน
พงศาวดาร
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและ
วัฒนธรรมในพื้นที่ปฏิบัติการโรงเรียน
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ภาษาแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางด้านวัฒนธรรมของแต่ละสังคม
ภาษาเป็นเครื่องถ่ายทอดวัฒนธรรมไว้มิให้สูญหาย
ภาษาเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความเจริญก้าวหน้า หรือความล้าหลังของวัฒนธรรม
ภาษาเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคนในชาติ
ภาษามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวัฒนธรรม
ภาษาสะท้อนให้เห็นที่มาหรือประวัติของวัฒนธรรมในสังคม
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย
ภาษาไทยมีการใช้ภาษาโดยคำนึงถึงกาลเทศะและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีวิจารณญาณและมีความรอบคอบ
ภาษาไทยมีระเบียบการใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีศิลปะ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมเป็นความสัมพันธ์แบบใกล้ชิด
ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งเพราะภาษาเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ภาษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมบรรดาวัฒนธรรมสาขาต่างๆ นั้น
ภาษาสะท้อนให้เห็นถึงประวัติความเป็นอยู่ของมนุษย์ในอดีตหรือวัฒนธรรมของชาตินั้นๆ
ภาษาเป็นเครื่องบ่งชี้วัฒนธรรมของผู้ใช้
ภาษาเป็นเครื่องอบรมจิตใจและความประพฤติของผู้ใช้ให้มีความละเอียดอ่อน
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาไทย
ใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร
ใช้ภาษาที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามแบบแผนของภาษาไทย
ใช้ภาษาเสียงได้ถูกต้องชัดเจนเพื่อผลสัมฤทธิ์ในการสื่อสาร
ใช้ถ้อยคำที่สื่อความหมายได้แจ่มแจ้งชัดเจน
ใช้ภาษาสุภาพไม่ใช้คำพูดหยาบคาย
ใช้ภาษาเพื่อสร้างสรรค์
บันทึก
พลงไทยสากล
นิทาน
เพลงพื้นเมือง
เรื่องสั้น
นวนิยาย
วรรณคดี
ใช้ภาษาเพื่อสั่งสอน
สะท้อนให้เห็นถึงอุปนิสัยใจคอของคนไทยอย่างชัดเจน
แสดงถึงความเป็นอัจฉริยะของบรรพชนชาวไทย
สะท้อนให้เห็นภาพสังคมไทย
เป็นการกลั่นกรองความคิดและสติปัญญา อันลึกซึ้ง เฉียบแหลม