Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient) มีความสำคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ทางเลือก การแพทย์ผสมผสาน
ภูมิปัญญาของหมอกระดูกพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วยกระดูกหักของจังหวัดจันทบุรี
อาหารที่ผู้ป่วยกระดูกหักควรงด
กุ้งปลาหมึก ทำให้การรักษาถอยหลัง ปลามีเงี่ยง ทำให้ปวด เป็นต้น
ดังนั้นอาหารจึงมีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วยภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้(Energy Expenditure:EE)เป็นพลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้างAdenosine triphosphate: ATP
TEE = BEE x Activity factor x stressfactor
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ(Nutrition)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้งทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร โดยเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกาย บทการดูดซึม
วิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน
(Science and art of feeding)
มิได้มุ่งหวังเพียงจัดการปรุงแต่งอาหารให้มีรสชาติดี สีสันสวยงามราคาถูกมาบริโภคเท่านั้น แต่ยังต้องมุ่งเน้นเรื่องคุณภาพของอาหาร หรือปริมาณของสารอาหารที่ร่างกายจะน ามาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดอีกด้วย
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหารหรือสารอาหาร
ภาวะโภชนาการ(Nutritional Status)
Good nutritional status
ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
Bad nutritional status
ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงพอแต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะโภชนาการเกิน(Over nutrition)
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ
เพศ
การใช้ยา
ภาวะสุขภาพ
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
ความชอบส่วนบุคคล
วิถีชีวิต
เศรษฐานะ
วัฒนธรรม
ความเครียด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วย
ที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
(Nasogastric intubation)
นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า การใส่ NG tubeโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาที่แตกต่างกัน
การป้อนอาหาร(Feeding)
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก
โดยผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหา
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment:B)
เป็นวิธีการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment:C)
วิธีการตรวจร่างกายเช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
(Anthropometric measurement:A)
Body Mass Index ; BMI
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
(Dietary assessment:D)
ประวัติการรับประทานอาหาร ชนิดของอาหารที่บริโภค พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
Bulimia Nervosa
ความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานโดยจะรับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ
Nausea and vomiting
(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
Obesity(ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
Abdominal distention(ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม ท าให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง เป็นต้น
Dysphagia and aphagi
a(ภาวะกลืนล าบากและกลืนไม่ได้)
Dysphagia
รู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
Aphagia
ไม่สามารถกลืนอาหารได้
นแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ำหรือน้ำลาย