Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 เรื่องยาแผนโบราณและสมุนไพรที่ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน - Coggle Diagram
บทที่ 1 เรื่องยาแผนโบราณและสมุนไพรที่ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
สมุนไพรที่ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขมิ้นชัน
ขนาดและวิธีใช้ : 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม (1-2 แคปซูล)
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Simethicone
mixt carminative
ใชับรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขิง
บรรเทาอาการ : ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม หรือมีอาการจุกเสียด
และป้องกันอาการคลื่นไส้จากการเมารถ เมาเรือ
ขนาดและวิธีใช้ : รับประทานวันละ 1-2 กรัม (2-4แคปซูล)
ก่อนเดินทาง 30 นาที -1ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
dimenhydrinate
ขนาดและวิธีใช้ : รับประทานครั้งละ 2-4 กรัม (4-8 แคปซูล)
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Simethicone
mixt carminative
เบญจกูล
ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย
ขนาดและวิธีใช้ : รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม - 1 กรัม (2 แคปซูล) วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Simethicone
mixt carminative
Diasgest
ธาตุอบเชย
แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้ : รับประทานครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร (1-2 ช้อนโต๊ะ)
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
mixt carminative
กลุ่มยารักษาอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
เถาวัลย์เปรียง
ปวดกล้ามเนื้อ
(1-2 แคปซูล) วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
NSIADs เช่น Diclofenac
สหัศธารา
ปวดตึงกล้ามเนื้อ
2-3 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
NSIADs เช่น Diclofenac
tolperisone
ยาหม่องไพล
น้ำมันไพล
ครีมไพล
บรรเทาอาการปวดเมื่อย
ทาและถูเบาๆ บริเวณที่มีอาการ 2-3 ครั้ง
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Analgesic balm
พริก
บรรเทาอาการปวดข้อ
ปวดกล้ามเนื้อ
ทาบริเวณที่ปวด 3-4 ครั้งต่อวัน
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Diclofenac gel
ยาแก้ไข้
จันทร์ลีลา
บรรเทาอาการไข้ ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ผู้ใหญ่ รับประทาน 2-4 แคปซูล ทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก 6-12 ปี 1-2 แคปซูลทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Paracetamol
กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
ฟ้าทะลายโจร
แก้ท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
รับประทานครั้งละ 1-4 แคปซูล วันละ 4 ครั้งหลังอาหารและก่อนนอน
ธาตุบรรจบ
ท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระมีมูกเลือด
ผู้ใหญ่ : รับประทาน 2 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6-12 ปี: รับประทาน 1 แคปซูล วันละ 3 ครั้งก่อนอาหารหรือเมื่อมีอาการ
ยาบรรเทาอาการท้องผูก
ชุมเห็ดเทศ
แก้ท้องผูก
รับประทานครั้งละ 1-2 ซอง ชงน้ำร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ใช้แทนยาแผนปัจจุบัน
Bisacodyl
ยาบรรเทาอาการหวัด
ฟ้าทะลายโจร
เจ็บคอ มีอาการไข้หวัด ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
รับประทานครั้งละ 4-7 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ปราบชมพูทวีป
รับประทานครั้งละ 2-3 แคปซูลวันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
ยากลุ่ม Antihistamines เช่น Chlorpheniramine (CPM) Loratadine
ยารักษากลุ่มอาการระบบผิวหนัง
ครีมเสลดพังพอน
Herpie Simplex
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Acyclovir Cream
เสลดพังพอนกลีเซอรีน
ลดการอักเสบ รักษาเริมที่ริมฝีปาก แผลร้อนใน
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
0.1% Triamcinolone cream
เสลดพังพอนคาราไมน์
ทาภายนอกเพื่ออาการผื่นแพ้
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Calamine lotion
ยาหม่องเสลดพังพอน
บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวม แดง จากแมลง
ยาลดความอยากบุหรี่
หญ้าดอกขาว
ลดความอยากบุหรี่
รับประทานครั้งละ 1 ซองชาชง น้ำร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร หลังอาหาร วันละ 3-4 ครั้ง
แทนยาแผนปัจจุบัน
Bupropiom
Varenicline
ยาแผนโบราณ
หลักเภสัช 4 ประการ
เภสัชวัตถุ
คือ รู้จักวัตถุธาตุนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยารักษาโรค ต้องรู้ลักษณะของตัวยา คือ ชื่อ ลักษณะ สี กลิ่น และรส แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
พฤกษวัตถุ ได้แก่ พรรณพฤกษชาตินานาชนิด ทั้งประเภทต้น ประเภทเถา
สัตววัตถุ ได้แก่ สัตว์นานาชนิดที่ทั้งตัว หรือเพียงบางส่วน นำมาใช้เป็นยา
ธาตุวัตถุ ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ที่นำมาใช้เป็นเครื่องยา
แพทย์ผู้ปรุงยาจึงต้องรู้จักตัวยาใน 5 ประการ ได้แก่
สียา คือ รู้จักสีของเครื่องยา รู้ว่าเครื่องยาอย่างนี้มีสีอะไร
กลิ่นยา คือ รู้จักกลิ่นของเครื่องยา รู้ว่าอย่างนี้มีกลิ่นหอม อย่างนี้มีกลิ่นเหม็น
รสยา คือ รู้ว่ายาอย่างนี้มีรสจืด รสฝาด รสหวาน
ชื่อยา คือ รู้ว่าชื่อยาอย่างนั้นอย่างนี้คืออะไร มีชื่อเรียกต่างกันแต่ละท้องถิ่น
รูปยา คือ รู้ว่าเครื่องยาที่ใช้เป็นอะไร เป็นส่วนใดของพืช
สรรพคุณเภสัช
คือ รู้จักสรรพคุณของพืชนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยา และต้องรู้รสของตัวยานั้น
ยารสประธาน หมายถึง รสของยาที่ปรุงเป็นต้นตำรับเเล้ว แบ่งออกเป็น 3 รส
ยารสเย็น ได้แก่ ยาเข้าสมุนไพรที่ไม่ร้อน เช่น เขาสัตว์ เช่น ยามหานิล มีสรรพคุณระงับความร้อน
ยารสร้อน ได้แก่ ยาที่เข้าสมุนไพรรสร้อน เช่น เบญจกูล เช่น ยาไฟประลัยกัลป์ แก้ไข้ในฤดูฝน
ยารสสุขุม ได้แก่ ยาที่ไม่ร้อนไม่เย็น เช่น อบเชย เช่น ยาหอม แก้โรคทางโลหิต
รสของตัวยา แบ่งออกเป็นยา 4 รส ยา 6 รส ยา 8 รส และยา 9 รส
คณาเภสัช
คือ รู้จักจัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่ง หลายอย่าง รวมเรียกเป็นชื่อเดียว ตามตำราเรียกว่า พิกัดยา แบ่งได้ 3 หมวด คือ
จุลพิกัด
คือมีตัวยาชนิดเดียวดัน รวมกัน 2 อย่าง เช่น กะเพราแดง กับ กะเพราขาว
พิกัด
คือ มีตัวยาต่างชนิดมารวมกัน 2 อย่างขึ้นไป เช่น พิกัดตรีผลา
มหาพิกัด
คือ มีตัวยาต่างชนิดกันรวมกัน 3 อย่างขึ้นไป โดยจะมีสัดส่วนมากน้อยต่างกัน
เภสัชกรรม
คือ การปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยาตามที่กำหนดในตำรับยา หรือตามใบสั่งยา
ตัวยาตรง คือ ยาที่มีสรรพคุณบำบัดโรคและไข้
ยาตัวช่วย คือ เมื่อมีโรคแทรกซ้อนแพทย์ก็จะใช้ตัวช่วยในการรักษาไอก็มีตัวยากัดเสมหะช่วยด้วย
ตัวยาประกอบ คือ เพื่อป้องกันโรคตามและช่วยบำรุงแก้ส่วนที่หมอเห็นควร
ตัวยาชูกลิ่น ชูรส และแต่งสีของยา เพื่อทำให้ยาน่าทานมากยิ่งขึ้น
ประวัติความเป็นมาของการแพทย์
พบศิลาจารึกของอาณาจักรขอม พระเจ้าชัยวรมันที่7 ทรงสร้างสถานพยาบาล เรียกว่า อโธคยาศาลา
ศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงได้บันทึกเกี่ยวกับการสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่
รัชกาลที่ 1 ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม ขึ้นเป็นพระอารามหลวง ทรงให้มีการรวบรวมและจารึกตำรายา ต่างๆ