Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของการดารงชีวิตของมนุษย์ การรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่
นักวิชาการได้ให้ความหมายของโภชนาการ และภาวะโภชนาการไว้ดังนี้
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่
ในอาหารหรือสารอาหาร
โภชนาการเป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกินคือ ในทางโภชนาการมิได้มุ่งหวังเพียงจัดการปรุงแต่งอาหารให้มีรสชาติดี สีสันสวยงาม ราคาถูกมาบริโภคเท่านั้น
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจาเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อ
นามาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
หมายถึง ผล สภาพ หรือภาวะของร่างกายที่เกิดจากการบริโภค
อาหาร แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status) หรือเรียกอีกอย่างว่า ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
คลื่นไส้
อาเจียน
ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์ พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง
วิถีชีวิต ปัจจุบันมีผู้เลือกดาเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากสัตว์
เศรษฐานะ พบว่า ภาวะเศรษฐกิจดีทาให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความต้องการ
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา พบว่าการดาเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรมความเชื่อ และศาสนา ยังดาเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น
ปัจจัยด้านจิตใจ พบว่า ความเครียด และความกลัวทาให้ความอยากอาหารลดลงรู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อาหาร หมายถึง สิ่งใด ๆ ซึ่งรับประทานเข้าไปแล้ว เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตและการมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย อาหารได้มาจากพืชและสัตว์
สารอาหารสาคัญ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และ แร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนาไปสร้างพลังงานในการดารงชีวิต
ในภาวะเจ็บป่วยความต้องการพลังงานต้องมากกว่าในภาวะปกติ เพราะต้องช่วยในการสร้างฟื้นฟู และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอทาให้ร่างกายหายเป็นปกติ
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย ดังจะกล่าวต่อไปนี้
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ
ส่วนสูง น้าหนัก และความรุนแรงของโรค
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้ (Energy Expenditure: EE) เป็นพลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้างAdenosine triphosphate: ATP
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (Basal energy expenditure: BEE) หรือพลังงานที่ต้องการขณะพัก (Resting Energy Expenditure: REE ) BEE หมายถึง พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทาให้เกิดกระบวนการเมทาบอลิสซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการทางานของอวัยวะอื่น ๆ
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (Total Energy Expenditure: TEE) หมายถึง ผลรวมของพลังงานทั้งหมดใน 1 วัน ซึ่งรวมถึง BEE พลังงานที่ใช้ในการย่อย และดูดซึมสารอาหารการใช้พลังงานจากการทางานของร่างกายในแต่ละวัน และการใช้พลังงานของผู้ป่วยเฉพาะโรค
TEE = BEE x Activity factor x stress factor
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
เป็นวิธีการเจาะเลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
เป็นวิธีการตรวจร่างกายเช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ แต่จะให้ความสนใจตรวจร่างกายเบื้องต้น
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
ประกอบด้วย ประวัติการรับประทานอาหาร ชนิดของอาหารที่บริโภค พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ภาวะอ้วน คือ ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป และจากการวัดขนาดรอบเอวในผู้ชายรอบเอว มากกว่า 40 นิ้ว (102 เซนติเมตร) ผู้หญิง 35 นิ้ว (88 เซนติเมตร) อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพกเพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
คานวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
จากัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
จากัดการใช้น้ามัน ไขมัน น้าตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจากัดอาหารมื้อเย็น
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะผอมแห้ง คือ ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และน้าหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน ร่วมกับขาดสารอาหาร มีการควบคุมอาหารหรือ อดอาหาร ออกกาลังกายมากเกินไปผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของระบบ
ทางเดินอาหาร ได้แก่
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน
อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะ
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆโดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง เป็นต้น แล้วขจัดสาเหตุ
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร โดยจัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย
ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหารเท่าที่ทำได้
การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร ในรายที่ไม่พบ โรคทางร่างกายและต้องการให้รับประทานอาหารมากขึ้น
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้ เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก มักเป็นอาการนำก่อนอาเจียน แต่อาจเกิดคลื่นไส้โดยไม่อาเจียนได้อาการที่มักเกิดร่วมด้วย คือ มีน้าลายมาก อาจเป็นลม ตาลาย เวียนศีรษะ ความดันเลือดลดลง
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
ภาวะท้องอืด เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม ทำให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลาบาก (Dysphagia) เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลาบากในการกลืน อาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหารธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว จนกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้าหรือน้าลาย
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
การป้อนอาหาร หมายถึง การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดยผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร หรือมีความอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย และเป็นการดูแลเอาใจใส่ให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารตามเวลา
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกา
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
ช้อนหรือช้อนส้อม
แก้วน้าพร้อมน้าดื่ม และหลอดดูดน้า
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ผ้ากันเปื้อน
วิธีปฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
การป้อนอาหาร
สาหรับผู้ป่วยพิการ
สาหรับผู้ป่วยกลืนลาบาก
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastricintubation)
การใส่สายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า การใส่ NG tube โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาที่แตกต่างกัน ได้แก่
วัตถุประสงค์
เป็นทางให้อาหาร น้า หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือได้รับไม่เพียงพอ
เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ (Decompression) เพื่อให้แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้าคัดหลั่งระบายออก มักต้องต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร (Compression) โดยใช้
สายที่มีลูกโป่งทางด้านนอกสามารถเป่าลมเข้าไปทาให้โป่งขึ้นบางส่วนของทางเดินอาหารเพื่อยับยั้งการมีเลือดออก
ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage) ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การใส่สายยางให้อาหาร เพื่ออธิบายวัตถุประสงค์ของการใส่สายยางให้อาหารข้างต้นจะเรียงตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้
สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr.
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
ถุงมือสะอาด 1 คู่
วิธีปฏิบัติ
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งการรักษา
ล้างมือให้สะอาด
นาอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบโดยดูป้ายชื่อ และสอบถามชื่อ-สกุลผู้ป่วยให้ถูกต้อง (ถูกคนถูกเตียง)
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการใส่สายยางจากจมูกถึงกระเพาะ
อาหารปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
จัดท่าให้ผู้ป่วย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือนอนศีรษะสูง
ใส่ถุงมือสะอาด และ Mask ตรวจดูรูจมูก ผนังกั้นจมูก โดยให้ผู้ป่วย
หายใจเข้าออกแรง ๆ ทีละข้าง ดูการผ่านของลมหายใจ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายให้อาหารทางจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric feeding) นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า NG tube feeding หมายถึงวิธีการให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก แต่การทางานของระบบทางเดินอาหารยังอยู่ในภาวะปกติ โดยให้อาหารผ่านทางสาย
ให้อาหารซึ่งสอดผ่านทางจมูกเข้าสู่กระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี ได้แก่
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo) มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้าสามารถปรับจานวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการให้ อาหารได้ตามความต้องการ
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง แต่การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาลเมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป
อุปกรณ์เครื่องใช้
วิธีปฏิบัติ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์เครื่องใช้ เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
วิธีปฏิบัติ
แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจจุดประสงค์และวิธีทา
จัดให้อยู่ในท่านั่ง หรือนอนในท่าศีรษะสูง
เปิดเสื้อผ้าบริเวณ Gastrostomy tube หรือ Jejunostomy tube ออก ปูผ้ากันเปื้อนไว้ใต้ Tube
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษได้รับยาเกินขนาด (Over dose) รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด
วัตถุประสงค์
อุปกรณ์เครื่องใช้
วิธีปฏิบัติ