Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฏีการให้การปรึกษาแบบเกสตัลท์, images6 - Coggle Diagram
ทฤษฏีการให้การปรึกษาแบบเกสตัลท์
3.จุดมุ่งหมายการให้คำปรึกษา
ให้ผู้รับการปรึกษาเปลี่ยนพฤติกรรมจากการพึ่งพาผู้อื่น มาสู่การพึ่งพาตนเอง รับผิดชอบต่อตนเองพัฒนาไปสู่การมีวุฒิภาวะ
ให้ผู้รับการปรึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง สามารถใช้ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่
ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาได้ใช้พลังงานของชีวิตอยู่กับปัจจุบัน รู้จักปล่อยวางอดีต โดยการทำความรู้สึกที่คั่งค้างให้สมบูรณ์ และไม่วิตกเกี่ยวกับอนาคต
ช่วยให้ผู้รับการปรึกษากล้าเป็นตัวของตัวเองที่แตกต่างไปจากบุคคลอื่น เข้าใจในค่านิยมและกฎเกณฑ์ของสังคม
2.การพิจารณามนุษย์/ธรรมชติของมนุษย์
ตามแนวความเชื่อของทฤษฎี
มนุษย์เป็นอิสระจากอดีต เขาอยู่ในปัจจุบันมนุษย์ไม่สามารถจัดการกับอดีตและอนาคตได้อย่างแน่นอน
แต่บุคคลสามารถดำเนินการกับปัจจุบันได้แน่นอนกว่า
มีคำกล่าวเกี่ยวกับแนวความคิดของเกสตัลท์ว่า “จงอยู่กับปัจจุบัน อย่าอยู่กับอดีต และอย่าเลื่อยลอยไปกับอนาคต”
5.กระบวนการการให้คำปรึกษา
1.การสร้าสัมพันธภาพ คือ ขั้นตอนที่ให้ความสนใจซึ่งกันและกันให้เกิดความเข้าใจดีทั้ง 2 ฝ่าย
2.กระบวนการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ทำให้ผู้รับบริการมีแรงใจและกำลังใจมีความรู้สึกว่ามีพลังในการเปลี่ยนแปลง
3.ขั้นการยืนยัน คือ การยืนยันหรือการรับรู้ในความเป็นจริงว่าผู้รับบริการต้องตัดสินใจทำอะไร
4.การทำปัญหาให้กระจ่าง คือ การยอมรับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นนำไปสู่ความชัดเจนของปัญหาคืออะไร
5.การเลือกแนวทางที่เหมาะสม คือ จะไม่มีการสั่งยา แต่เป็นการตัดสินใจของผู้รับบริการ ที่ผ่านการเข้าใจต่อปัญหา
6.การทำให้ผู้รับการปรึกษามีความมั่นใจ คือ การแสดงออกให้ผู้รับบริการมีความมั่นใจต่อแนวทางที่เลือกของผู้รับบริการ
การทดลองปฏิบัติ คือ เปิดโอกาศให้ผู้รับบริการทดลองปฏิบัติทางที่เลือกด้วยตนเอง
6.บทบาทและหน้าที่ของผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษา
ผู้ให้คำปรึกษา
มีทบทสำคัญในการชี้แนะ ชักชน หรือออกคำสั่งให้ผู้รับการปรึกษาคิดผู้ที่รับคำปรึกษา ผู้ให้บริการจะต้องช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ และพร้อมที่จะพัฒนาตนเองอย่างเต็มที
ผู้รับคำปรึกษา
บทบาทของผู้รับบริการจะต้องพูดออกมาโดยตรงแสดงท่าทางออกมา การพุดถึงความชอกช้ำในอดีต
7.ข้อดี ข้อจำกัดของทฤษฎีการให้คำปรึกษา
ข้อดี
ช่วยให้ผู้รับบริการเผชิญกับความจริงให้กล้าสู้ความจริงและสู้ชีวิต เผชิญกับความรู้สึกที่อยากหลีกหนีให้หลุดพ้นจากความรู้สึกท้อแท้หมดหวัง
สนับสนุนให้ผู้รับบริการมีความรับผิดชอบต่อการกระทำของตน และการตัดสินใจของตน ให้ผุ้รับบริการสามารถเอาชนะอุปสรรคและแก้ปัญหาได้
3.เน้นปัจจุบัน ไม่เพ้อฝันถึงอนาคตหรือติดข้องอยู่กับอดีต
ข้อจำกัด
วิธีให้บริการปรึกษาแบบเกสตัลท์นี้อาจใช้ไม่ได้ผลกับ
บุคคลที่ไม่ตระหนักในความรู้สึกของตน
บุคคลที่มีปัญหาวิกฤต
บุคคลที่ต้องการเฉพาะข้อมูลเพื่อการตัดสินใจเฉพาะหน้า
2.ผู้ให้บริการเป็นผู้ชี้นำให้ผู้รับบริการทำอย่างนั้น อย่างนี้มากกว่าปล่อยให้ผู้รับบริการดำเนินการเอง
4.เทคนิค/กลวิธีการให้คำปรึกษา
1.การเพ้อฝัน คือ การใช้จินตนาการโดยการเปรียบการรับรู้เป็นเอกลักษณ์ของต้นเอง
2.การอยู่กับความรู้สึก คือ ให้รู้รับบริการเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดในอดีต
3.การแสดงบทบาท
4.การพูดโต้ตอบ คือ การช่วยให้ผู้รับบริการรับรู้ตนเองในด้านต่าง ๆ
5.ภาษาท่าทาง คือ ผู้ให้บริการปรึกษาสนใจท่าทางของผู้รับบริการ
1.ความเป็นมาของทฤษฎี
:star: ค.ศ.1920 ได้ประสบการณ์เกี่ยวกับจิตเวชในเบอร์ลิน
โดยใช้วิธีจิตวิเคราะห์ในการบำบัดรักษาคนไข้ หลังจากนั้นฟิลส์ได้อพยพครอบครัวมาอยู่ที่แอฟริกาใต้
:star:ค.ศ. 1946 ย้ายมาอยู่ในอเมริกาและในช่วงนั้นเฟิลส์
ได้นำวิธีการแบบเกสตัลท์มาใช้ในการบำบัดรักษาคนไข้
แนวความคิดของลัทธิเซ็น (Zen) ก็เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทในจิตบำบัดแนวเกสตอลต์ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
เน้นการรับรู้ในตนเอง (self awareness) โดยไม่เน้นการใช้ความคิดสติปัญญา แต่มุ่งการสัมผัสของตนเอง ดังที่ Perlร กล่าวว่า "lose your mind, come to your sense"
การพยายามปล่อยวางอดีต
3.ให้ความสำคัญต่อสภาวะปัจจุบัน
4.การจุดประกายการปล่อยวางประสบการณ์เดิมเพื่อเปิดตัวเอง สำหรับการเผชิญต่อ ประสบการณ์ปัจจุบันได้อย่าง
การงสู่การรับรู้และการยอมรัตนเองตมสภาพที่เป็นจริง เพราะการรู้จักและการยอมรับ เต็มที่ ตนเอง จะนำไปสู่การทำให้เกิการพึ่พาตนเองและในชณะเดียวกันก็พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
นักจิตวิทยกลุ่มเกสตอลต์มีพื้นฐานเกี่ยวข้องกับการรับรู้ (perception) และการแก้ไขปัญหา (problem solving) โดยวิธีการหยั่งเห็น (insight) หลักสำคัญเกี่ยวกับการรับรู้ ของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตอลต์ pel นำไปใช้เป็นพื้นฐานในจิตบำบัดแนวเกสตอลต์
:star: เฟรทเดอริค เอส เฟิลส์ (Frederick S. Perls) เป็นผู้ริเริ่มจิตบำบัดแบบเกสตัลท์ ชาวเยอรมัน