Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ, กลุ่มอาการโรคไตรั่ว/โปรตีนรั่วในปัสสาวะ,…
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคตั้งแต่ภายในกรวยไตจนถึงท่อไต
มีขนาดใหญ่ขึ้นมาก(ด้านขวา)
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน+การถูกกดทับของมดลูก
มีการคั่งของน้ำปัสสาวะในไต,ท่อไตค้างอยู่นาน
เกิดการติดเชื้อ
มีการย้อนกลับของเชื้อเข้าสู่ไต
เกิดภาวะ pyelonephritis
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
มีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้น
ไตปรับตัว
เพิ่มหน้าที่การกรองของไต
ระดับcreatinineและBUNในเลือดลดต่ำลง
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ(ASB)
แบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า105cfu/ml
ไม่มีอาการแสดง
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ
ติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ
เจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะขุ่น/แดง
การมีเม็ดเลือดแดง+เม็ดเลือดขาวออกมากับปัสสาวะ
ไข้สูง,อ่อนเพลีย,ปวดบริเวณท้องน้อย
ภาวะไตวาย
ไตวายเรื้อรัง
DM
SLE
glomerulonephritis
ไตวายเฉียบพลัน
แท้งติดเชื้อ
Preeclampsia With Severe Feature.
hemolytic uremia syndrome
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต
แบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า105cfu/ml
ปัสสาวะมีหนอง
มีไข้
ปวดบั้นเอว
หนาวสั่น
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ติดเชื้อEColiที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ.
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์
ท่อไตตึงตัว
การเคลื่อนไหว/หดรัดตัวลดลง
ประสิทธิภาพการดูดซึมกลับลดลง
ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะมากขึ้น
รูเปิดของหลอดไตที่กระเพาะปัสสาวะเกิดการบิดงอขับปัสสาวะออกไม่สะดวก
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะย้อนกลับขึ้นไป
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและการขยายตัวของขนาดมดลูก
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง(LowerUTI)
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะแสบขัด
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน(UpperUTI)
กรวยไตอักเสบ
ปัสสาวะสีขุ่น
เจ็บบริเวณชายโครง
ปวดหลังบริเวณไต
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว
เกิดการแท้ง
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ทารก
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวน้อย
เจริญเติบโตในครรภ์ช้า
ตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
ปัสสาวะลำบาก
ปัสสาวะไม่สุด
ถ่ายเป็นเลือด
ตรวจร่างกาย
ปัสสาวะขุ่น
มีไข้
ปวดท้องน้อยบริเวณหัวเหน่า
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจUrineAnalysis
พบไข่ขาว
เม็ดเลือดขยาย
ตรวจurineCulture
เชื้อแบคทีเรียมากกว่า105dfu/ml
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
คัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น
ตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ
การรักษา
ติดเชื้อแบบ ASB
ให้ยาปฏิชีวนะ
ป้องกันการเกิดupperUTI
หลังการรักษา7วันตรวจ urine culture
เพื่อตรวจหาเชื้อโรคซ้ำ
ติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
ให้ยาปฏิชีวนะ
มีความไวต่อเชื้อและปลอดภัยต่อมารดาและทารกมากที่สุด
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ส่งตรวจUrine culture
การพยาบาล
ระยะคลอด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ป้องกันการติดเชื้อ
สังเกตความผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
คุมกำเนิดในรายที่มีบุตรเพียงพอแล้ว/เป็นโรคไตติดเรื้อรังควรคุมกำเนิดแบบถาวร
การตั้งครรภ์ทำให้โรครุนแรงมากขึ้น
อันตรายต่อชีวิตของมารดาได้
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
มาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำวันละ8-10แก้วและไม่กลั้นปัสสาวะ
สังเกตความผิดปกติ
ปัสสาวะแสบขัด
ปวดท้องน้อย
ปวดบั้นเอว
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว/โปรตีนรั่วในปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะมากประมาณ5กรัม/วัน
โปรตีนในเลือดต่ำ
มีอาการบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ
ไขมันในเลือดสูง
สาเหตุ
สาเหตุ
ปัจจัย
ซักประวัติ
ท่อปัสสาวะ+กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
สาเหตุ