Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pender'Health Promotion Model - Coggle Diagram
Pender'Health Promotion Model
การพัฒนาทฤษฎี
ฉบับปี ค.ศ.1987
คำจำกัดความของสุขภาพ
การรับรู้สภาวะสุขภาพ
รับรู้ความสามารถของตน
การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม
รับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้
การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม
การเห็นความสำคัญของสุขภาพ
องค์ประกอบอื่น เช่น อายุ เพศ การศึกษา
ฉบับปี ค.ศ.1996 ปรับปรุงใหม่ มองคนอย่างเป็นองค์รวม
การยึดมั่นต่อแผลปฏิบัติ ความตั้งใจที่จะเป็นเเผนในการปฏิบัติซึ่งเกิดขึ้นเองหรือบุคคลอื่นมีส่วนรับรู้
ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นเเทรกทันที
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับความรู้สึกทั้งด้านบวกเเละด้านลบ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
พฤติกกรมเดิม มีผลโดยตรงเเละโดยอ้อม รู้ความสามารถตนเอง
ข้อตกลงเบิ้งต้นของทฤษฎี
บุคคลที่จะหาวิธีการทำให้พฤติกรรมดำเนินไปอย่างดี
บุคคลมีความซับซ้อนในลักษณะร่างกาย อารมณ์ สังคม
บุคคลมองคุณค่าของการเติบโตในทางบวกเเละพยายามที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย
บุคลากรทางสุขภาะเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสิ่งเเวดล้อม ซึ่งมีอิทธิพลต่อบุคคลทุกช่วงชีวิต
บุคคลมีความสามรถสะท้อนการตระหนักรู้เเละประเมินความสามารถของตน
การปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตนเองระหว่าบุคคลกับสิ่งเเวดล้อม
บุคคลจะสร้างเงื่อนไขของการดำรงอยู่
แบบจำลองส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
คำอธิบายแบบจำลองส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม
3.การรับรู้ความสามารถของตน ตัดสินความสารถของบุคคลในการจัดการให้สำเร็จ
4.กิจกรรมเเละความเกี่ยวเนื่องกับผลที่ได้ เกี่ยวข้องกับผลที่ได้หรืออารมณ์
2.การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ รวามทั้งจินตนาการหรือความจริง
5.อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่าบุคคล บุคคลเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้บุคคลตัดสินว่าจะปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆหรือไม่
1.การรับรู้ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติ
ทั้งด้านภายในเเละภายนอก
6.อิทธิพลของสถานการณ์ สิ่งเเวดล้อมมีผลต่อสุขภาพเเละพฤติกรรมสุขภาพ
ผลลัพท์ของพฤติกรรม
1.ความยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
การยึดมั่นที่จะดำเนินตามการกระทำ
เเยกเเยะกลยุทธ์ในการที่จะปฏิบัติ
2.ความต้องการเเละความชอบที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
บุคคลสามารถเอาชนะได้บ้าง
บุคคลที่มีพลังอำนาจในการที่จะควบคุมเล็กน้อย
คุณลักษณะของบุคคลเเละประสบการณ์ของบุคคล
1.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
โดยตรง พฤติกรรมสุขภาพเดิมทำให้เกิดเป็นลักษณะนิสัย
โดยอ้อม สิ่งใดที่เคยเรียนรู้ว่ามีอุปสรรค เมื่อมีเหตุการณ์ที่ซ้ำเดิมบุคคลจะดึงประสบการณ์มาใช้
2.ปัจจัยส่วนบุคคล
จิตวิทยา
สังคมเเละวัฒนธรรม
ชีวิวิทยา
ลักษณะบางอย่างของบุคคลเป็นไม่ได้ จึงไม่ได้นำมาเป็นส่วนที่จะกระทำเพื่อเพิ้มพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ทำให้เกิดสุขภาพดีในเเต่ละเเนวคิดมีความเชื่อมโยงกันดังเเผนภาพ
แบบประเมินทางคลินิก
สำหรับการวางแผนส่งเสริมสุขภาพ
ตัวอย่างการวางแผน
ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
แบบประเมินทางคลินิกสำหรับ
การวางแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย