Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
8.1 ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
8.1.1 ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่
ในอาหารหรือสารอาหาร
เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นาสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย รวมทั้งการกาจัดสารที่เหลือใช้ของร่างกาย
8.1.2 ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
2) ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงพอแต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
(1) ภาวะโภชนาการต่ากว่าเกณฑ์ (Malnutrition) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า
(2) ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
8.2 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
1) อายุ พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่
2) เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
3) การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
4) ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
5) ความชอบส่วนบุคคล พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
6) ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์ พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง
7) วิถีชีวิต ปัจจุบันมีผู้เลือกดาเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากสัตว์ ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ เป็นเวลานาน ๆ
8.3 ความสาคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient)
มีความสาคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ทางเลือก การแพทย์ผสมผสาน
ผู้ป่วยได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ ย่อม
ส่งผลกระทบ
1) เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
2) ภูมิคุ้มกันโรคลดลง
3) การหายของแผลช้า
8.3.1 ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้ (Energy Expenditure: EE
)เป็นพลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้างAdenosinetriphosphate: ATP
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (Basal energy expenditure: BEE)
หรือพลังงานที่ต้องการขณะพัก
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (Total Energy Expenditure: TEE)
8.4 การประเมินภาวะโภชนาการ
6.4.1 การวัดสัดส่วนของร่างกาย
(Anthropometric measurement: A)
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
เป็นการประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด โดยวัดส่วนสูงและน้าหนักแล้ว
8.4.2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
เป็นวิธีการเจาะเลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ใช้ค่าของฮีโมโกลบิน (Hb) และค่าฮีมาโตรคิต
(Hct) Hemoglobin (Hb
8.4.3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
1) ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง (ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
2) สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู
3) ตรวจดูฝ่ามือ ให้เทียบกันทั้ง 2 ข้าง (ปกติจะมีสีชมพู)
8.4.4 การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
มีประวัติรับประทานอาหารเจตลอดชีวิต
ผลการประเมิน
: มีโอกาสขาดสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย
มีประวัติชอบรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
ผลการประเมิน
: มีโอกาสเกิดโรคพยาธิใบไม้ในตับ
มีประวัติชอบรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
ผลการประเมิน
: มีโอกาสเกิดโรคพยาธิใบไม้ในตับ
8.5 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
8.5.1 Obesity (ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวล
กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
1) คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2) จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
3) จำกัดการใช้น้ามัน ไขมัน น้าตาล
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจากัดอาหารมื้อเย็น
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
8) ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
8.5.2 Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ
ตารางเมตร และน้าหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน
8.5.2.1 Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึก
ไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน
ภาวะเบื่ออาหาร อาจพบเป็นกลุ่มอาการเฉพาะอย่างหนึ่งที่เกิดต่อเนื่องกันนาน โดยไม่พบสาเหตุทางร่างกาย บุคคลนั้นอาจไม่รับประทานอาหารเลย
8.5.2.2 Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ
8.5.2.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
1) หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร โดยจัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย
3) ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบายสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายข
4) การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร ในรายที่ไม่พบโรคทางร่างกายและต้องการให้รับประทานอาหารมากขึ้น
8.5.3 Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก มักเป็น
อาการนาก่อนอาเจียน แต่อาจเกิดคลื่นไส้โดยไม่อาเจียนได้
8.5.3.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
(1) จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วย
สาหรับเช็ดปาก
(2) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก ช่วยลูบหลังลงเบา ๆ เพื่อป้องกันการสาลักอาเจียนเข้าสู่หลอดลม
(3) คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกาลังอาเจียน พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
(1) ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
(2) จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ ทาให้
ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
(3) ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
(4) น้าและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้า และเริ่มให้ทีละน้อย
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
(1) พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
(2) พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่าง ๆ ดูแลให้ผู้ป่วยผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
(3) ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึก ๆ ยาว ๆ ภายหลังอาเจียน และเมื่อรู้สึกคลื่นไส้
8.5.4 Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
ทาให้เกิดอาการที่ตามมา
8.5.4.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60 เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
2) งดอาหารที่ทาให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
4) ค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
8.5.5 Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลาบาก (Dysphagia)
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลาบากในการกลืน อาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่ง
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia)
จึงไม่สามารถกลืนได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหารธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว
8.5.5.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลาบากว่าเกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อย ๆ มากขึ้น
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้าและอาหารอย่างเพียงพอ
3) ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
4) ระมัดระวังการสาลัก
5) ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
8.6 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
8.6.1 การป้อนอาหาร (Feeding)
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก
8.6.1.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดอาหารพร้อมอาหาร
2) ช้อนหรือช้อนส้อม
3) แก้วน้าพร้อมน้าดื่ม และหลอดดูดน้า
4) กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
5) ผ้ากันเปื้อน
8.6.1.1 วัตถุประสง
ค์ เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม
ความต้องการของร่างกาย
8.6.1.3 วิธีปฏิบัติ
1) การป้อนอาหาร
(1) ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
(2) จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทานอาหาร
(3) ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย ระวังการตักอาหารไม่ทาอาหารหกรดผู้ป่วย
(4) หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้า บ้วนปาก หรือแปรงฟัน และเช็ดปากให้สะอาด
(5) เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่าง ๆ เมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
2*) สาหรับผู้ป่วยพิก
าร ควรปฏิบัติการพยาบาลเพิ่มเติม ดังนี้**
(1) ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหารใส่ปากหรือดัดแปลงที่จับของให้จับได้สะดวก
(2) ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลวที่
8.6.2 การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric intubation
)
8.6.2.1 วัตถุประสงค์
1) เป็นทางให้อาหาร น้า หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือได้รับไม่เพียงพอ
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ (Decompression) เพื่อให้แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้าคัดหลั่งระบายออก มักต้องต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร (Compression) โดยใช้สายที่มีลูกโป่งทางด้านนอกสามารถเป่าลมเข้าไปทาให้โป่งขึ้นบางส่วนของทางเดินอาหารเพื่อยับยั้งการมีเลือดออก
8.6.2.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้
2) สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr.
3) Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
4) ถุงมือสะอาด 1 คู่
8.6.3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี
1) Bolus dose
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะสาหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2) Drip feeding
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้
2) อาหารเหลวสาเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderized diet)
3) ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผง
และละลายน้าประมาณ 15-30 ซีซี
4) ผ้ากันเปื้อน
5) Toomey syringe
ขนาด 50 ml 1 อัน
6) ถุงมือสะอาด 1 คู่
7) Stethoscope
8) แก้วน้า
8.6.4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
8.6.4.1 อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว
2) ชามรูปไต
3) น้ายาบ้วนปาก
4) สาลีชุบ 70% Alcohol
5) ไม้พันสาลีชุบเบนซิน (Benzene)
และน้าเกลือ (Normal saline)
6) ถุงมือสะอาด
7) ผ้าก๊อสสะอาด
8.6.5 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
8.6.5.1 วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
8.6.5.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
8.7 การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
8.7.1 วัตถุประสงค์
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจานวนน้อย
ในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
8.7.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ชุดล้างกระเพาะอาหาร (ภาชนะสาหรับใส่สารละลายทั้งสาหรับเทสารละลายและที่ดูดออกจากผู้ป่วย และ Toomey syringe)
2) สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้าเกลือ (Isotonic saline)
3) ชามรูปไตหรืออ่างกลม
4) ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
8.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ตัวอย่าง
ผู้ป่วยรายหนึ่ง ได้รับการวินิจฉัยโรคเป็นมะเร็งหลอดอาหาร ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ น้าหนักลดลง 10 กิโลกรัมภายใน 2 สัปดาห์สีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่นผิวหนังแห้ง เห็นกระดูกชัดเจน ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลยจิบน้าแค่เล็กน้อยก็ไหลออกทางปาก แพทย์มีแผนการรักษาให้ Retain NG tube for Feeding BD 250 ml x 5 Feed จง
1. การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
S: ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้าแค่เล็กน้อยก็ไหลออกทางปาก
O: จากการสังเกต ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง ผอมจนเห็นกระดูกชัดเจน
2. การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
3. การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
4. การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
1) ตรวจสอบแผนการรักษา ชื่อผู้ป่วย และอาหารปั่นให้ตรงกัน
2) จัดเตรียมอุปกรณ์ในการใส่สาย NG และอาหารปั่นให้พร้อม ยกไปที่เตียงผู้ป่วย
3) บอกวัตถุประสงค์ เตรียมความพร้อมของผู้ป่วย จัดท่าให้เหมาะสม ปิดกั้นม่าน
4) ใส่สายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารให้แก่ผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติ
5) ให้อาหารทางสายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
6) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง อย่างน้อย 30 นาที หลังให้อาหารทางสายยาง
7) ลงบันทึกทางการพยาบาล
5. การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation) สิ่งที่ต้องประเมิน
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล