Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงาน
การทำงานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียนเพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
สาเหตุที่ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ ขณะออกกาลังกาย
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น
อาหารที่มีไขมันมากทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
ผู้สูงอายุความเสื่อมของทุกระบบในร่างกายลดลง
การสูบบุหรี่ ส่งผลทำให้เกิดอาการพร่องออกซิเจน
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ส่งผลให้สมองได้รับออกซิเจนน้อยลง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
อาการหายใจไม่สะดวก
หายใจลาบากเมื่อนอนราบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก
หัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง
เจ็บหน้าอก
หัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
ระบบประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย
สับสน
มึนศีรษะ
ปวดศีรษะ
ระบบผิวหนัง
เย็น
ซีด
ระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้
อาเจียน
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง เป็นการตรวจเพื่อหา ประสิทธิภาพการทำงานของปอด
ง่วงเหงาหาวนอน
ระดับความรู้สึกลดลงจนไม่รู้สึกตัว
หัวใจเต้นเร็ว
มีอาการชาตามมือตามหน้า
อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
คล้ายกับ metabolic acidosis แต่ไม่มีอาการปวดศีรษะ
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดปกติอยู่ระหว่าง 98 - 99%
หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จำเป็นต้องได้รับการรักษา
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
ผู้หญิง 11.5 – 16.5 gm %
ผู้ชาย 13.0 - 18 gm %
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ
เป็นกลไกการตอบสนองของรางกายอยางหนึ่งตอสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ
เป็นกลไกปองกันที่สำคัญของรางกายในการกาจัดเชื้อโรค เสมหะ หรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
อาการไอเป็นสาเหตที่สำคัญในการแพร กระจายของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุ่นควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สาลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลา
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สี และกลิ่น
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
ชนิด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
โรคมะเร็งของหลอดลม
วัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง
มะเร็งหลอดลม
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
วัณโรคปอด
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
พยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น พยาบาลต้องคอย ปลอบโยน ให้กำลังใจ
Hiccup การสะอึก
สาเหตุ
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สูบบุหรี่จัด
มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
การพยาบาล
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
แนะนาให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea อาการหายใจลำบาก
สาเหตุ
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
การพยาบาลผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุ
กล้ามเนื้ออักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หัวใจ
หลอดลมอักเสบ
เส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วย
สังเกตอาการ ควรแนะนำให้นอนตะแคงทับด้านที่ เป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
มีภาวะซีด
มีอาการเขียวคล้า
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม
อาการหายใจลาบาก
วัตถุประสงค์
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่ง
ภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากparaquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วย
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ความผิดปกติของสีผิว
ระดับความรู้สึกตัว
วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์
ตรวจดูสายยาง
ขวดทาความชื้นมีน้าอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทำน้ำกลั่นที่ทำความชื้น
ควรเตรียมถังใหม่เพื่อเปลี่ยนได้ทันทีและต้องตั้งถังอย่าล้มถังในขณะให้
เปลี่ยนและนำอุปกรณ์การใช้ออกซิเจน ไปทำความสะอาดและทาให้ปลอดเชื้อ
ถ้าให้ออกซิเจนจากระบบ pipeline ที่มีรูเปิด สำหรับเสียบ flow meter จะต้องดูให้ flow meter เสียบเข้าที่
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
การจัดท่านอน ท่านั่ง ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ
สอนการไออย่างถูกวิธี
กระตุ้นให้ได้รับน้าอย่างเพียงพอ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ
ให้จิบน้าบ่อยๆ
ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้าสะอาดบ่อยๆ
ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
ทำความสะอาดช่องจมูก
ดูแลความสะอาดบริเวณหน้า
ดูแลด้านจิตใจ
บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
พยาบาลควรมีความชานาญในการใช้เครื่องมือ
แนะนา อธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
ดูแลควบคุมอัตราการไหของออกซิเจนให้เพียงพอ
สนใจ รับฟังความต้องการของผู้ป่วยอย่างจิงจัง
ให้เวลาผู้ป่วยในการพูดคุย
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก
ข้อดี
สามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก
ไม่ค่อยรู้สึก อึดอัดหรือราคาญมากนัก
ติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง
ทาให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ามูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
Simple mask
Reservoir bag
Non rebreathing mask
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ
ระบบให้ความชื้น
ชนิดละอองโตให้ความชื้นของทางเดินหายใจ30-40%
ชนิดละอองฝอย ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับกผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว
แหล่งให้ออกซิเจน
ถังบรรจุออกซิเจน
ระบบท่อ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการได้รัออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำ
ท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น โดยกระบังลมจะหย่อนลง
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
การหายใจโดยการห่อปาก
การหายใจเข้าลึกๆ
การดูดเสมหะ
การส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่านอนให้เหมาะสม กระตุ้นให้เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
กระตุ้นให้ไอบ่อย ๆ และให้ดื่มน้ำมาก ๆ
การทำ postural drainage เป็นการจัดท่าเพื่อช่วยระบายเสมหะที่ค้างอยู่
ทำการดูดเสมหะออก
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
จัดท่านอนศีรษะสูง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจลึก ๆ บ่อยๆ
จัดให้มีการออกกำลังกายตามความสามารถของผู้ป่วย
ป้องกันอาการท้องอืดที่อาจเกิดขึ้น
ใส่เสื้อผ้าที่สวมสบายให้แก่ผู้ป่วย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด ต้องควบคุมให้อัตรา ความเข้มข้นต่ามักเริ่มให้ในขนาด1–2 ลิตร/นาที
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล โดยแนะนาการทาสมาธิ หรือการนอนใส่หูฟังให้ฟังเพลง
วิธีการดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่
ชนิดติดฝาผนัง
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทาลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อป้องกันการนาเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ากลั่นปลอดเชื้อ ให้ระดับน้ำอยู่ตรงตาแหน่งขีดที่กาหนดข้างกระบอก
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุ่มเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้าง
กรณีให้ mask ให้ปฏิบัติ ดังนี้
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที จนถุงโป่งเต็มที่เพื่อไล่ก๊าสอื่นที่ค้างในถุง
กรณีให้ oxygen hood ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล
กรณีให้ T- piece ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่าน
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
อาการ
สัญญาณชีพ
ปริมาณออกซิเจน
ปฏิกิริยาผู้ป่วยเมื่อได้รับออกซิเจน
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจ
จมูก ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ดักจับฝุ่นละออง
โพรงจมูกและช่องคอ ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
ฝาปิดกล่องเสียง ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย ทำหน้าที่ลาเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค และกาจัดเชื้อโรค
ถุงลม ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลาเลียงมากับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า
กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว ทำให้กระดูกซี่โครง เลื่อนสูงขึ้น กระบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่าลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้นความ ดันภายในช่องอกจะลดต่าลง อากาศจากภายนอกจึงสามารถผ่านเข้าสู่ปอดได้
การหายใจออก
เกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า ทำให้กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครง มีการคลายตัว กระดูกซี่โครงเลื่อนต่าลง โดยกระบังลมที่เลื่อนต่าลงก็จะกลับเลื่อนตัวสูงขึ้นทำให้ ปริมาตรของช่องอกลดลง ความดันอากาศภายในช่องอกก็จะกลับสูงขึ้น ดังนั้น จึงสามารถดันให้อากาศจาก ภายในปอดออกสู่ภายนอกได้
การหายใจในระดับเซลล์
กระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหาร ภายในเซลล์ทำให้เกิด (adenosine triphosphate: ATP) ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ ซึ่งเป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้