Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริม
การได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ปุวยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่า (hypoxia)
ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high fowler’s position)
ผู้ปุวยที่หายใจลาบากทาให้นอนราบไม่ได้
ควรจัดท่า orthopnea position
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
(diaphragmatic breathing)
สามารถทาได้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการหายใจ
เรื้อรังและเฉียบพลัน
การหายใจโดยการห่อปาก
(pursed - lip breathing)
ช่วยลดการคั่งของอากาศในถุงลม
โดยการรักษาความดันบวกในการหายใจ
การหายใจเข้าลึกๆ
(deep breathing)
กระตุ้นการสร้างสารเคลือบภายในปอด
และช่วยขยายพื้นที่การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด
การดูดเสมหะ (suction)
การส่งเสริมการได้รับออกซิเจนให้เพียงพอกับ
ความต้องการของร่างกาย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การผ่อนคลายความวิตกกังวล โดยแนะนาการทำสมาธิ
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal)
หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ (adventitions sound)
สังเกตอาการซึมลงของผู้ป่วย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพ
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจลำบาก
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจำนวนมาก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
อาการแทรกซ้อน
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ
การสำลักจากการกระตุ้น gag reflex
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทาให้เกิดแผล
ความผิดปกติในผู้ปาวยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ (Endotracheal)
หรือทางท่อหลอดคอ(tracheostomy suction)
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ แล้วไอออกมา
ปิดฝาให้สนิทนำส่งห้องปฏิบัติการ
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าผู้ปุวยติดเชื้อชนิดใด และมีปฏิกิริยาต่อยาปฏิชีวนะตัวใด
และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter จะได้ปริมาณของออกซิเจน
มีหน่วยเป็นลิตรต่อนาทีตามที่ต้องการ
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type) จากถังใช้ highpressure gas regulator ให้ถูกต้องและแน่นพอดี
สวมท่อสายยางของอุปกรณ์ให้ออกซิเจน กับท่อ flow meter
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
หมุนปุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
กรณีให้ nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก คล้องสายกับใบหู 2 ข้าง ปรับสายให้พอดีไว้ใต้คาง
กรณีให้ mask
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที
กรณีให้ oxygen hood
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก
กรณีให้ T- piece
ควรดูดเสมหะออกก่อน
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล