Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ, สาระสำคัญของทางเลือก, ผลลัพธ์ที่ไม่คาดหมาย,…
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
1.คำนำ
ประเด็นสำคัญ :
1.1.นักวิเคราะห์นโยบาย จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการรวบรวมการจัดการและการสื่อข้อมูลภายใต้สถานการณ์ที่มีข้อกำหนดเรื่องเวลาแลข้อจำกัดในการเข้าถึงประชาชนที่เกี่ยวข้อง
1.2.นักวิเคราะห์นโยบายต้องการทัศนภาพในการรับรู้เกี่ยวกับบริบทของปัญหาทางสังคม
1.3.นักวิเคราะห์นโยบายต้องการทักษะทางเทคนิค เพื่อช่วยทำให้การทำนายและการประเมินผลทางเลือกนโยบายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
1.4.นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองและองค์กร
1.5.นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องมีกรอบของจริยธรรม
2.กรอบการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
2.1.ความสำคัญของการวิเคราะห์นโยบาย
3.2.ความหมายของการวิเคราะห์นโยบาย
3.3.กลยุทธการวิเคราะห์นโยบาย
3.การเปรียบเทียบองค์ประกอบสำคัญของการวิเคราะห์และสาขาวิชาเกี่ยวข้อง
3.1.กระบวนทัศน์
3.2.วัตถุประสงค์
3.3.ผู้เกี่ยวข้อง
3.4.รูปแบบทั่วไป
3.5.ข้อจำกัดด้านเวลา
3.6.จุดอ่อนทั่วไป
4.องค์ประกอบของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
4.1.วัตถุประสงค์
การค้นหาวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของนโยบาย
4.2.ทางเลือก
มีเงื่อนหรือวิธีการที่เป็นไปได้ เพื่อทำให้การตัดสินใจว่าจะนำไปสู่ผลสำเร็จ
ปัจจัยและข้อมูลต่างๆ
4.3.ผลกระทบ
ผลกระทบของทางเลือกอาจจะเป็นได้ทั้งทางบวกและทางลบ
4.4.เกณฑ์การวัด
4.5.ตัวแบบ
5.กระบวนการวิเคราะห์นโยบาย
5.1.แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
5.1.1แนวทางเชิงประจักษ์
5.1.2แนวทางเชิงประเมิน
5.1.3แนวทางเชิงปทัสถาน
5.2.กระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
5.2.1วัฏจักรของกระบวนกาวิเคราะห์นโยบาย
ประการแรก. การระบุปัญหานโยบาย
ประการที่สอง. การกำหนดวัตถุประสงค์
ประการที่สี่ การรวบรวมข้อมูลและข่าวสาร
ประการที่เจ็ด การประเมินต้นทุนและประสิทธิผล
ประการที่สาม การค้นหาและกำหนดทางเลือก
ประการที่แปด การแปลผลที่เกิดขึ้น
ประการที่หก การตรวจสอบทางเลือกที่เหมาะสม
ประการที่เก้า การทบทวนฐานคติ
ประการที่ห้า การสร้างและทดสอบตัวแบบ
ประการที่สิบ การกำหนดทางเลือกใหม่
5.2.2.ขั้นตอนการวิเคราะห์นโยบาย
การพยากรณ์
การกำหนดวัตถุประสงค์และการจัดลำดับความสำคัญ
การนิยามประเด็นนโยบาย
การวิทางเลือก
การกลั่นกรองประเด็นนโยบาย
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
การประเมินผลและการทบทวน
การดำรงรักษานโยบาย
การตัดสินใจที่จะกำหนดปัญหานโยบาย
6.ระเบียบวิธีและระบบข้อมูลการวิเคราะห์นโยบาย
6.1.ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบาย
การกำหนดโครงสร้างของปัญหา
การประเมินผล
การกำกับนโยบาย
การเสนอแนะ
การทำนาย
6.2.ระบบข้อมูลนโยบาย
ปัญหานโยบาย
ระดับความสำเร็จของนโยบาย
ผลลัพธ์นโยบาย
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
อนาคตนโยบาย
6.3.ความสัมพันธ์ระหว่างระเบียบวิธีการวิเคราะห์และระบบข้อมูลของนโยบาย
7.การวิเคราะห์นโยบายเชิงประจักษ์
7.1.อรรถประโยชน์ของการวิเคราะห์เส้นทาง
7.2.ตัวแบบสาธิตการวิเคราะห์เส้นทาง
การวิปัจจัยที่มีผลต่อการจัดอัตรากำลังพลตำรวจในเขตชุมชนเมืองสหรัฐอเมริกา
การวิเคราะห์ปัจจัยมีผลต่อค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการในประเทศต่างๆ
สาระสำคัญของทางเลือก
ผลลัพธ์ที่ไม่คาดหมาย
การจัดลำดับทางเลือก
ประสิทธิผลของทางเลือก
การพิจารณาปัจจัยอื่นๆ
ต้นทุน